บทที่1 แนวคิดระบบสารสนเทศทางการพยาบาล

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
บทที่1 แนวคิดระบบสารสนเทศทางการพยาบาล por Mind Map: บทที่1 แนวคิดระบบสารสนเทศทางการพยาบาล

1. 2.สำหรับให้การพยาลผู้ป่วยทางอ้อมเพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยและการพยาบาลระบบเครือข่าย

2. 2.แนวคิดเชิงกระบวนการ สารสนเทศทางกสรพยาบาล คือ การผสมผสานศาสตร์ทางความพิวเตอร์และสารสนเทศและการพยาบาลเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยออกแบบกระบวนการจัดการข้อมูล

3. - พยาบาลศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - สารสนเทศ - คอมพิวเตอร์ศาสตร์

4. 1.สำหรับการให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยตรง เมื่อผู้ป่วย/ญาติ มารับการบริการ

4.1. ระบบฐานข้อมูลเช่น ประวัติผู้ป่วย ทางเวชระเบียน

4.2. ระบบปัญญาเทียม โปรแกรมช่วยสอนความ-รู้

5. การใช้ความรู้ทางความพิวเตอร์ ความรู้ทางด้านสารสนเทศ และความรู้ทางด้านการพยาบาลเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการงานพยาบาล

6. 1.แนวคิดตามองค์ประกอบศาสตร ์4 ด้าน

7. 1.งานบริการสุขภาพ เช่น บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน

8. 2. การบริหารจัดการทางการพยาบาล - ระดับปฏิบัติการ (พยาบาลในทีม) - บริหารจัดการระดับต้น(พยาบาลหัวหน้าเวร) - บริหารงานระดับกลาง (หวหน้าตึกหัว/หน้าแผนก) - บริหารงานระดับสูง (หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาล)

9. -เมื่อพยาบาลให้การดูแลผู้ป่วย ควรมีการจัดเก็บข้อมูลทางการพยาบาลไว้ในคอมพิวเตอร์ - เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการพยาบาล - เพื่อนำข้อมูลที่บันทึกมาวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น เป็นการเก็บข้อมูลไปเรื่อยๆ และนำข้อมูลกลับมาใช้เป็นระยะๆ

10. ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ข้อมูล (data) 2. สสารสนเทศ(information ) 3. ความรู้(knowledge)

11. ความหมายและความสำคัญ

11.1. ความสำคัญของสารสนเทศทางการพยาบาล คือ การรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยจัดการข้อมูลสื่อสาร หรือการดัดแปลงข้อมูลทางการพยาบาล

12. ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์

13. แนวคิดสารสนเทศทางการพยาบาล

14. ประโยชน์สารสนเทศทางการพยาบาล

14.1. -เพิ่มศักยภาพ ประหยัดเวลาและงบประมาณ - พัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง -ช่วยในการจัดทำนโยบายในการบริการให้บริการสุขภาพ - ช่วยในการสื่อสารข้อมูลทางการพยาบาล

15. รูปแบบสารสนเทศทางการพยาบาล

16. ระบบข้อมูลทางการพยาบาล

17. แนวทางในการทางในการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการพยาบาล

18. ผลกระทบการนำเอาเทคโนโลยีมาใช้

18.1. - ฝ่ายบริหาร สามารถบริหารจัดการได้ง่ายขึ้น - ฝ่ายปฏิบัติงาน ได้พัฒนาความรู้ความสารถ - ผู้รับบริการ ได้รับบริกาที่ถูกต้อง มีคุณภาพ - ต่อองค์กร บริหารจัดการมีประสิทธิภาพ -ต่อภาพลักษณ์ มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น - เกิดการศึกษาการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น