Acute febrile illness ไข้เฉียบพลัน

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
Acute febrile illness ไข้เฉียบพลัน por Mind Map: Acute febrile illness ไข้เฉียบพลัน

1. อาการไข้เฉียบพลัน จัดเป็นอาการป่วยที่สามารถพบได้บ่อยที่สุด และมีจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับการรัษาทางการแพทย์มากที่สุดอีกอาการหนึ่ง สาเหตุของอาการไข้เฉียบพลันมักเกิดเนื่องจากโรคติดเชื้อ โดยเฉพาะการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งสาเหตุสามารถบ่งบอกหรือวินิจฉัยได้จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย ที่นำมาซึ่งแนวทางการรักษาอย่างได้ผล แต่บางครั้งอาการไข้เฉียบพลันที่เกิดขึ้นก็ไม่สามารถวินิจฉัยหาสาเหตุได้ในระยะแรก เนื่องจากไม่ร่างกายยังไม่แสดงอาการส่งผลให้ตรวจไม่พบอาการหรือลักษณะที่ผิดปกติ ดังนั้นพื่อหาสาเหตุจึงจำเป็นต้องทำการตรวจทางห้องปฏิบัติการและทำการติดตามอาการอย่างใกล้ชิด แพทย์จึงจะสามารถทำการวินิจฉัยสาเหตุและแนวทางในการรักษาได้

2. โรคติดเชื้อที่วางไว้ (แบคทีเรีย) เช่นภาวะไข้เป็นพิษ (เชื้อกัมมันตรังสี / แบคทีเรีย) ที่ได้รับการวางไข่เช่นเชื้อ Escherichia coli / E Coli) สเตรปโตคอคโคซิส, โรคเมลิออยล์หรือโรคเมดิแคร์จากเชื้อ Salmonella spp. (Salmonella spp.)

3. อารการ

4. อาการไข้เฉียบพลัน ( Acute Febrile illness : AFI ) คือ อาการไข้ที่ร่างกายมีอุณหภูมิมากกว่า 37.2 องศาเซลเซียนในช่วงเช้าและอุณหภูมิ 37.7 ในช่วงเย็น ซึ่งอาการไข้ที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ซึ่งอาการไข้จะแสดงอาการให้เห็นและสามารถทำการวินิจฉัยได้ตั้งแต่เริ่มมีอาการไข้ อาการไข้ชนิดนี้จะเกิดร่วมกับอาการของระบบอื่นเสมอ เช่น อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เบื่ออาหาร คลื่นไส้หรืออาเจียน เป็นต้น มักไม่เกิดอาการไข้เพียงอย่างเดียว แต่ถ้าอาการไข้ที่เกิดขึ้นนานเกิน 2 สัปดาห์จะเรียกว่า “ ไข้กึ่งเฉียบพลัน ( Subacute fever ) ”

5. สาเหตุ

5.1. 1.โรคติดเชื้อไวรัส ( Virus ) เช่น ไข้เดงกี ( dengue fever : DF )หรือไข้เดงกีชนิดรุนแรง ( dengue hemorrhagic fever : DHF ) , อาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ ( cute retroviral syndrome หรือ ARS ) , โรคติดเชื้ออีบีวี ( Epstein-Barr virus infection ) เป็นต้น ซึ่งอาการไข้เฉียบพลันที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุที่พบได้มากที่สุด

5.2. 2.โรคติดเชื้อในกลุ่มริกเก็ตเซีย ( Rickettsia ) ได้แก่ โรคมูรีนไทฟัส ( murine typhus ) ที่มีลักษณะของอาการป่วยที่คล้ายกับไข้รากสาดใหญ่ แต่อาการที่เกิดขึ้นของโรคจะมีความรุนแรงน้อยกว่า หรือโรคไข้รากสาดใหญ่หรือโรคสครับไทฟัส ( Scrub typhus ) ที่มักมีไรอ่อนเป็นพาหะนำโรค ซึ่งอาการของโรคไข้รากสาดใหญ่จะมีลักษณะที่ใกล้เคียง กับลักษณะอาการไข้เฉียบพลันที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส

6. การซักประวัติ

6.1. 1.การซักประวัติ

6.1.1. 1.1 ระยะเวลาในการเกิดไข้ของผู้ป่วย

6.1.2. 1.2 สัมผัสประสาทโรค

6.1.2.1. อาชีพ ภูมิลำเนาเกิด ลักษณะของที่อยู่อาศัย

6.1.2.2. การสัมผัสสัตว์ที่มีความเสี่ยงหรืออยู่ในเขตพื้นที่มีสัตว์พาหะอาศัยอยู่

6.1.2.2.1. การสัมผัสกับผู้คนที่อาศัยอยู่ในครอบครัวในชุมชนหรือเพื่อนร่วมงาน

6.1.2.3. การรับประทานอาหาร อาหารบางชนิดอาจมีพาหะที่นำโรคสู่คนได้

6.1.3. 1.3 ประวัติการฉีดวัคซีนและยา

6.1.3.1. ตรวจสอบประวัติในการฉีดวัคซีนก่อนที่จะเข้ามารักษาด้วยไข้เฉียบพลัน

6.1.4. 1.4 ภาวะและโรคประจำตัวของผู้ป่วย

6.1.4.1. ผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่ปกติ ย่อมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่มีความรุนแรงสูงกว่าผู้ที่มีภูมิคุ้มกันของร่างกายปกติ

7. การตรวจร่างกาย

7.1. สัญญาณชีพ

7.2. ลักษณะภายในช่องปาก

7.3. ไซนัสและหู

7.4. ระบบทางเดินหายใจส่วนกลาง

7.5. ระบบประสาท

7.6. ระบบผิวหนัง

7.7. ต่อมน้ำเหลือง

8. การจรวจทางห้องปฏิบัติการ

8.1. การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์หรือตรวจความสมบูรณ์ของเลือด ( Complete Blood Count : CBC )

8.2. การตรวจสอบการเดินทาง (Urinalysis หรือ UA)

8.3. Chest X-ray

8.4. การเพาะเชื้อจากเลือด ( Hemoculture )