พื้นฐานด้านดิจิทัล

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
พื้นฐานด้านดิจิทัล por Mind Map: พื้นฐานด้านดิจิทัล

1. 5.การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. ความหมายและองค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล 1.ผู้ส่งข้อมูล 2.ผู้รับข้อมูล 3.สื่อกลาง 4.ตัวแปลงสัญญาณ 5.โปรโตคอล 6.ข้อมูล

1.2. ทิศทางในการสื่อสารข้อมูล 1.simplex ส่งทางเดียวและรับทางเดียว 2.half duplex สามารถส่งได้ทั้งสองทางแต่ไม่สามารถส่งพร้อมกันในเวลาเดียวกันช่องทางเดียวกันได้ 3.full duplex สามารถส่งพร้อมๆกันทั้งสองทางได้ 4.echo duplex เป็นการสื่อสารสะท้อนกลับ

1.3. ประเภทการส่งสัญญาณข้อมูล 1.การสื่อสารแบบขนาน 2.การสื่อสารแบบอนุกรม

1.4. สื่อกลางที่ใช้ในระบบการสื่อสารข้อมูล 1.ประเภทสาย 2.ประเภทไร้สาย

1.5. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.เครือข่ายแบบบัส 2.เครือข่ายแบบดาว 3.เครือข่ายแบบวงแหวน 4.เครือข่ายแบบต่อข่าย 5.เครือข่ายแบบผสม

2. 6.การวางแผนการตลาดดิจิทัล

2.1. Digital Marketing Plan คือ เอกสารที่ใช้แชร์ข้อมูลสำหรับแผนการทั้งหมดในการทำแคมเปญตลาดดิจิทัล

2.1.1. 6 ขั้นตอนในการสร้างแผนการตลาดดิจิทัล

2.1.1.1. 1.กำหนดตัวตนของแบรนด์

2.1.1.2. 2.สร้างBuyer personas

2.1.1.3. 3.กำหนดวัตถุประสงค์

2.1.1.4. 4.เลือกวิธีการตลาดดิจิทัล

2.1.1.5. 5.ตั้งงบประมาณ

2.1.1.6. 6.ประเมินผล

3. 7.การสื่อสารบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1. ประกอบด้วย 6 ตัวอย่าง 1.ชื่อการสื่อสาร 2.ผู้ส่งข้อมูล 3.ผู้รับข้อมูล 4.สื่อกลาง 5.ทิศทางในการสื่อสารข้อมูล 6.เครือข่าย

4. 8.ความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่าย

4.1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ -การสื่อสารมีส่วนพัฒนากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ -เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่างๆมีราคาถูกลง

4.2. ประเภทของภัยคุกคาม 1.ภัยคุกคามทางตรรกะ 2.ภัยคุกคามทางกายภาพ

4.3. ภัยคุกคามทางด้านข้อมูล 1.Hacker 2.Cracker 3.Note 4.Spam mail 5.ไวรัส 6.หนอนอินเตอร์เน็ต

4.4. สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 1.ความมั่นคงปลอดภัย 2.ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 3.ประวัติการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

4.5. องค์ประกอบของความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล 1.ความลับ 2.ความคงสภาพ 3.ความพร้อมใช้

5. 1.แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์

5.1. พื้นฐานสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ คือ “อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับข้อมูล และชุดคำสั่ง (Program) ในรูปแบบที่เครื่องรับได้ แล้วนำมาประมวลผล (Process)

5.2. ประเภทของคอมพิวเตอร์

5.2.1. ◦ คอมพิวเตอร์ระดับยิ่งใหญ่ หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ◦ คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่ หรือเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) ◦ คอมพิวเตอร์ระดับเล็ก หรือมินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) ◦ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซี (PC : Personal Computer) ◦ คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก หรือโน็ตบุค (Notebook Computer) ◦ คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เลขาส่วนตัว หรือพีดีเอ (PDA : Personal Digital Assistant) ◦ คอมพิวเตอร์เครือข่าย หรือเน็ต (Net)1

5.3. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เกิดจากลูกคิด

5.4. ยุคคอมพิวเตอร์

5.4.1. ◦ ยุคแรก (ค.ศ.1945-1955) เป็นยุคคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ที่เป็น หลอดสูญญากาศใช้ยูทิลิตี้แบบธรรมดา ◦ ยุคที่ 2 (ค.ศ.1955-1964) เป็นยุคทรานซิสเตอร์ ที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ◦ ยุคที่ 3 (ค.ศ.1965-1980) เริ่มมีการคิดค้นและผลิต IC (Integrated Circuit) ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง มีการพัฒนาภาษาขั้นสูง ◦ ยุคที่ 4 (ค.ศ.1980-ปัจจุบัน) มีความซับซ้อนมากขึ้น ใช้ระบบปฏิบัติการแบบ multimode ใช้คุณลักษณะ เวอร์ชวลแมชชีน (Virtual machines) และมีการสื่อสารข้อมูล

6. 2.แพลตฟอร์มเครือข่ายคอมพิวเตอร์

6.1. ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกัน ทำให้ผู้ใช้ในระบบเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนได้

6.1.1. โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

6.1.2. 1.เครือข่ายสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล(PAN)

6.1.3. 2.เครือข่ายเฉพาะที่(LAN)

6.1.4. 3.เครือข่ายเมือง(MAN)

6.1.5. 4.เครือข่ายบริเวณกว้าง(WAN)

7. 3.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

7.1. 1)ฮาร์ดแวร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณืรอบข้างที่สามารถแตะต้องสัมผัสได้ด้วยมือ

7.2. 2)ซอฟต์แวร์ เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน

7.3. 3)บุคลากรคอมพิวเตอร์ คือ บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกด้าน

7.4. 4)ข้อมูลและสารสนเทศ -ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ -สารสนเทศ คือ ข้อสรุปต่างๆที่ได้จากการนำข้อมูลมาวิเคราะห์

8. 4.การประมวลผลแบบคลาวด์

8.1. ความหมาย คือการให้บริการด้านทรัพยากรไอทีตามการกำหนดราคาค่าบริการที่ใช้ตามจริง

8.2. หลักการทำงานการประมวลผลบนระบบคลาวด์ 1.ส่วนหน้า คือส่วนของผูใช้งานหรือที่เรียกว่า Client 2.ส่วนหลัง คือส่วนระบบประมวลผลบนระบบคลาวด์ ซึ่งในส่วนนี้จะมี server computer

8.3. ข้อดี 1.ลดต้นทุนค่าดูแลบำรุงรักษาเนื่องจากค่าบริการได้รวมค่าใช้จ่ายจากที่ใช้งานจริง 2.ลดความเสียงการเริ่มต้น 3.สามารถลดหรือขยายได้ตามที่ต้องการ 4.ได้เครื่องแม่ข่ายที่มีประสิทธิภาพ

8.4. ข้อเสีย 1.เกิดปัญหาด้านความต่อเนื่องและความรวดเร็ว 2.ยังไม่มีการรับประกันในการทำงานต่อเนื่องของระบบและความปลอดภัยของข้อมูล 3.แพลทฟอร์มยังไม่ได้มาตรฐาน