ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์ por Mind Map: ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์

1. องค์ประกอบ

1.1. ชื่อแผนที่

1.2. ทิศ

1.3. ขอบระวาง

1.4. สัญลักษณ์

1.5. มาตราส่วน

1.5.1. แบบคำพูด : มาตราส่วน 1 cm / 1 km

1.5.2. แบบอัตราส่วน : scale มาตราส่วน 1 : 50,000

1.5.3. แบบเส้น/ไม้บรรทัด

1.6. เส้นโครงแผนที่

1.6.1. เส้นแนวนอน ( เส้นขนาน ) บอกค่าละติจูด

1.6.2. เส้นแนวตั้ง ( เส้นเมริเดียน ) บอกค่าลองจิจูด

1.7. พิกัดภูมิศาสตร์

1.7.1. ละติจูด : จำแนกเขตภูมิอากาศโลก

1.7.2. ลองจิจูด : จำแนดเขตเวลาโลก

2. แผนที่

2.1. ประเภทของแผนที่

2.1.1. แผนที่ภูมิประเทศ

2.1.1.1. จำแนกความสูง/ต่ำของพื้นที่โดยใช้เส้นชั้นความสูง และแถบสี

2.1.2. แผนที่เฉพาะเรื่อง

2.1.2.1. แสดงข้อมูลหลักเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ประชากร ป่า ไม้

3. เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์

3.1. แสดงลักษณะบนผิวโลก เช่น เทือกเขา แม่น้ำ ที่ราบ ฯลฯ

3.2. เทคนิควิธีการสมัยใหม่ที่ได้มาซึ่งข้อมูล การวิเคราะห์ที่บอกค่าพิกัดได้อย่างแน่นอน

3.3. รูปถ่ายเฉียง ถ่ายในแนวดิ่งแต่ไม่เห็นท้องฟ้า

3.4. การรับรู้จากระยะไกลคือข้อมูลที่ได้จากการถ่ายภาพทางเครื่องบินใน ระดับต่ำหรือ เรียกว่ารูปถ่ายทางอากาศ หลักการทำงานของรูปถ่ายทาง อากาศ มี 2 ส่วนสำคัญ

3.4.1. การได้รับข้อมูล

3.4.2. การวิเคราะห์ข้อมูล

3.4.2.1. วิเคราะห์ด้วยสาตา

3.4.2.2. วิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์

3.5. รูปถ่ายมางอากาศ

3.5.1. รูปถ่ายของผิวโลกซึ่งถ่ายโดยกล้องที่ติดไปกับ อากาศยาน ประเภทรูปถ่ายทางอากาศ แนวดิ่งคือภาพที่ถ่ายโดยให้ กล้องอยู่ในแนวดิ่งรูปถ่ายเฉียงแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

3.5.1.1. รูปถ่ายเฉียงสูงคือการถ่ายในแนวดิ่งและเห็นท้องฟ้า

4. ภาพถ่ายจากดาวเทียม

4.1. ภาพที่ได้จากการ บันทึกข้อมูลของอุปกรณ์ที่ติดตั้งกับดาวเทียม ที่โคจรอยู่รอบโลกลักษณะของภาพคือไม่มี คำอธิบายใดๆกำกับอยู่

4.1.1. GPS คือเทคโนโลยีที่ใช้กำหนดตำแหน่ง บนพื้นโลกโดยอาศัยดาวเทียม

4.1.2. GIS คือเรื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ใช้ระบบ คอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์และแสดงผลเพื่อ ให้เห็นภาพความเปลี่ยนแปลงข้อมูลเชิงพื้นที่ ซึ่งมีองค์ประกอบหลักอยู่ 5 ส่วน

4.1.2.1. ข้อมูล

4.1.2.2. ระบบฮาร์ดแวว์

4.1.2.3. ซอฟต์แวร์

4.1.2.4. การวิเคราะห์การทำงาน

4.1.2.5. บุคลากร

5. แผนที่จุด

5.1. หนึ่งจุดใช้แทนค่าของข้อมูลจำนวนหนึ่ง

6. แผนที่สัญลักษณ์สัดส่วน

6.1. ใช้รูปทรงเรขาคณิตหรือกราฟนำเสนอข้อมูลที่มีขนาดเป็นสัดส่วน

7. แผนที่เส้นเท่า

7.1. ใช้เส้นลากผ่านตำแหน่ง ที่มีข้อมูลประมาณค่าเท่ากัน อาจใช้สีประกอบ

8. แผนที่แสดงการเคลื่อนที่

8.1. นำเสนอข้อมูลการเคลื่อนย้าย

9. แผนที่โคโรเพลท

9.1. จำแนกข้อมูลอย่างมีระบบ สีเข้มแสดงปริมาณมาก สีอ่อนแสดงปริมาณน้อย

10. แผนที่แจงสี

10.1. ใช้สีเป็นสัญลักษณ์แสดงความต่างไม่แสดงปริมาณ

11. แผนที่ไดอะแกรม

11.1. ใช้ภาพเรขาคณิต 2 มิติ หรือ 3 มิติ แสดงสัญลักษณ์ลงบนพื้นผิว เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง

12. ประโยชน์ของแผนที่

12.1. ด้านการเรียนการสอน

12.2. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

12.3. ด้านวางแผนพัฒนาประเทศ

12.4. ด้านการเมืองการปกครอง

12.5. ด้านการทหาร

12.6. ด้านเศรษฐกิจ