รธน.'60 (279 มาตรา)

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
รธน.'60 (279 มาตรา) por Mind Map: รธน.'60 (279 มาตรา)

1. หมวด 2

1.1. พระมหากษัตริย์

1.2. ม.6-24 (=19)

2. หมวด 1

2.1. ทั่วไป

2.2. ม.1-5 (=5)

3. เปรียบเทียบ 3 ฉบับถาวร

3.1. รธน.40 (ฉ.16)

3.2. รธน.'49 (ฉ.17) ชั่วคราว

3.3. รธน.50 (ฉ.18)

3.4. รธน.'57 (ฉ.19) ชั่วคราว

3.5. รธน.'60 (ฉ.20)

3.6. ประเด็น "สื่อสารมวลชน"

3.6.1. รธน.'40 (ม.40)

3.6.2. รธน.'50 (ม.47)

3.6.3. รธน.'60 (ม.60)

4. หมวด 5

4.1. หน้าที่ของรัฐ

4.2. ม.51-63 (=13)

5. หมวด 4

5.1. หน้าที่ของปวงชนชาวไทย

5.2. ม.50 (=1)

6. ความหมาย

6.1. รากฐาน

6.1.1. ก่อตั้ง

6.1.1.1. อำนาจอธิปไตย

6.1.1.2. รัฏฐาธิปัตย์

6.1.2. กำหนด

6.1.2.1. ขอบเขตอำนาจรัฐ

6.1.2.2. หลักประกันสิทธิเสรีภาพประชาชน

6.2. สถานะของกฎหมาย

6.2.1. สูงสุด (กฎหมายแม่)

6.3. ความสัมพันธ์ของคน

6.3.1. กฎหมายมหาชน

7. หมวด 3

7.1. สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย

7.2. ม.25-49 (=25)

8. หมวด 10

8.1. ศาล

8.1.1. บททั่วไป

8.1.1.1. ม.188-193 (=6)

8.1.2. ศาลยุติธรรม

8.1.2.1. ม.194-196 (=3)

8.1.3. ศาลปกครอง

8.1.3.1. ม.197-198 (=2)

8.1.4. ศาลทหาร

8.1.4.1. ม.199 (=1)

8.2. ม.188-199 (=12)

9. หมวด 11

9.1. ศาลรัฐธรรมนูญ

9.2. ม.200-214 (=15)

10. หมวด 12

10.1. องค์กรอิสระ

10.1.1. บททั่วไป

10.1.1.1. ม.215-221 (=7)

10.1.2. คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)

10.1.2.1. ม.222-227 (=6)

10.1.3. ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ผผ.)

10.1.3.1. ม.228-231 (=4)

10.1.4. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)

10.1.4.1. ม.232-237 (=6)

10.1.5. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)

10.1.5.1. ม.238-245 (=8)

10.1.6. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)

10.1.6.1. ม.246-247 (=2)

10.1.7. ม.215-247 (=33)

11. หมวด 13

11.1. องค์กรอัยการ

11.2. ม.248 (=1)

12. หมวด 14

12.1. การปกครองส่วนท้องถิ่น

12.2. ม.249-254 (=6)

13. หมวด 6

13.1. แนวนโยบายแห่งรัฐ

13.1.1. ม.65 ยุทธศาสตร์ชาติ

13.2. ม.64-78 (=15)

14. หมวด 7

14.1. รัฐสภา

14.1.1. บททั่วไป

14.1.1.1. ม.79-82 (=4)

14.1.2. สภาผู้แทนราษฎร

14.1.2.1. ม.83-106 (=24)

14.1.3. วุฒิสภา

14.1.3.1. ม.107-113 (=7)

14.1.4. บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง

14.1.4.1. ม.114-155 (=42)

14.1.5. การระชุมร่วมกันของรัฐสภา

14.1.5.1. ม.156-157 (=2)

14.2. ม.79-157 (=79)

15. ทฤษฎีอำนาจอธิปไตย

15.1. ยุค ปชต. (หลังเลือกตั้ง)

15.1.1. อำนาจนิติบัญญัติ

15.1.1.1. รัฐสภา

15.1.1.1.1. สภาผู้แทนราษฎร (สส.)

15.1.1.1.2. วุฒิสภา (สว.)

15.1.2. อำนาจบริหาร

15.1.2.1. คณะรัฐมนตรี (ครม.)

15.1.3. อำนาจตุลาการ

15.1.3.1. ศาล

15.2. ยุค คสช. (อดีต)

15.2.1. อำนาจนิติบัญญัติ

15.2.1.1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)

15.2.2. อำนาจบริหาร

15.2.2.1. คณะรัฐมนตรี (ครม.)

15.2.3. อำนาจตุลาการ

15.2.3.1. ศาล

15.3. ความเคลื่อนไหวสำคัญ

15.3.1. โรดแมป (Roadmap)

15.3.2. แม่น้ำ 5 สาย

15.3.2.1. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)

15.3.2.1.1. เรียกแขก / ดราม่า

15.3.2.2. คณะรัฐมนตรี (ครม.)

15.3.2.2.1. คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ (20 ปี)

15.3.2.2.2. แผน 12 (สภาพัฒน์) นำร่องประเดิมใช้ 5 ปีแรก

15.3.2.2.3. เรียกแขก / ดราม่า

15.3.2.3. สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.)

15.3.2.3.1. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ (11 ด้าน)

15.3.2.3.2. เรียกแขก / ดราม่า

15.3.2.4. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)

15.3.2.4.1. ม.44

15.3.3. คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูฐ (กรธ.)

15.3.4. กลไก / โมเดลขับเคลื่อนประเทศ

15.3.4.1. ประชารัฐ

15.3.4.2. ไทยแลนด์ 4.0

16. หมวด 8

16.1. คณะรัฐมนตรี

16.2. ม.158-183 (=26)

17. หมวด 9

17.1. การขัดกันแห่งผลประโยชน์

17.2. ม.184-187 (=4)

18. หมวด 15

18.1. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ

18.2. ม.255-256 (=2)

19. หมวด 16

19.1. การปฏิรูปประเทศ

19.2. ม.257-261 (=5)

20. บทเฉพาะกาล

20.1. ม.262-279 (=18)