กม.ปกครอง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กม.ปกครอง by Mind Map: กม.ปกครอง

1. หลักพื้นฐานกมปกครอง

1.1. หลักความชอบด้วยกม.

1.1.1. การกระทำของฝ่ายปกครอง มีผลกระเทือนต่อสิทธิ+เสรีภาพของประชาชน

1.1.2. การปฎิบัติหน้าที่ต้องเป็นไปตามกม. ให้อำนาจ + ไม่มีกม. ให้อำนาจก็ทำไม่ได้

1.1.3. ความเป็นมา

1.1.3.1. มาจากแนวความคิดของกม.เยอรมันที่ต้องการแยกรัฐตำรวจ ที่เป็นระบบให้อำนาจกับฝ่ายปกครอง ออกจากนิติรัฐ

1.1.3.2. รัฐแบบนิติรัฐ มีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมืองอยู่ภายใต้ระบบกม.

1.1.3.2.1. ไม่มีกม.ไม่อำนาจ+ไม่อาจใช้อำนาจนกรอบที่กมให้ไว้

1.1.3.3. ก่อให้เกิดกระบวนการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง

1.1.3.3.1. โดยศาลที่อิสระจากฝ่ายปคกรองที่จะเข้ามาตรวจสอบ

1.1.3.4. กม.เป็นที่มาของการใช้อำนาจ

1.1.3.5. กมเป็นข้อำกัดของการใช้อำนาจฝ่ายปกครอง

1.1.4. ก่อน-หลังมีฝ่ายปกครอง

1.1.4.1. ก่อน

1.1.4.1.1. ฝ่ายปกครองมีอำนาจมาก อ้างประโยชน์สาธารณะ+มีเอกสิทธํิ์อำนาจ การกระทำไม่มีข้อจำกัด มีความเป็นสูงสุด

1.1.4.2. หลัง

1.1.4.2.1. เมื่อมีรธน. เป็นกม.สูงสุด จึงควบคุมไม่ให้มีกม.อื่นมาขัดหรือแย้งรธน.

1.1.5. ที่มาของหลักความชอบด้วยกม.

1.1.5.1. 1. รธน บทบบัญญัติ หลักรธน.ทั่งไป

1.1.5.2. 2. พรบ พรบประกอบรธน.

1.1.5.3. 3. พรก.

1.1.5.4. 4. กฎหมายลำดับรอง กฏเกณฑ์ทางกม.ซึ่งองค์กรผู้ใช้อำนาจบริหารอาศัยอำนาจตามพรบ.ตราขึ้น

1.1.6. ที่มาอื่นๆ

1.1.6.1. 1. กม.จารีตประเพณี

1.1.6.2. 2. หลักกม.ทั่วไป

1.1.6.3. 3. คำพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐานของศาล

1.1.6.3.1. ไทยไม่ถือคำพิพากษาของศาลเป็นบ่อเกิดของกม. แต่ บางคำพิพากษาก็ได้รับการยอมรับ และถือเป็นบรรทัดฐาน

1.1.7. ข้อสังเกต

1.1.7.1. สนธิสัญญาจะเป็นกม.หรือไม่ขึ้นอยู่กับรธน.กำหนด

1.1.7.2. กม.ที่เป็นแหล่งที่มาของการกระทำทางปกครอง

1.1.7.2.1. หลักความเสมอภาค

1.1.7.2.2. ความมั่นคงในินิติฐานะ

1.1.7.2.3. ไม่มีผลใช้บังคับย้อนหลัง

1.1.7.2.4. กม.ต้องไม่ขัด/แย้งต่อหลักความได้สัดส่วน

1.1.7.2.5. ต้องไม่ให้อำนาจของฝ่ายปกครองจดกระทบสาระสำคัญของสิทธิเสรีภาพนั้นของประชาชน

1.1.8. ข้อจำกัด

1.1.8.1. อำนาจดุลยพินิจ

1.1.8.2. ทฤษฎีว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉิน

1.1.8.2.1. ใช้อำนาจเกินกม.ในสถานการณ์ทึี่สำคัญ และกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ

1.1.8.3. นิติกรรมทางปกครองที่ไม่อาจถูกตรวจสอบ

1.1.8.3.1. การกระทำทางรัฐบาล

1.1.8.3.2. มาตรการภายในของฝ่ายปกครอง

1.2. นิติรัฐ

1.2.1. อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน

1.2.2. รัฐเป็นของประชาชน-มีระบบ+องค์กรคุม

1.2.3. ความเป็นมา

1.2.3.1. Plato

1.2.3.1.1. ราชานักปราชญ์หายาก ต้องใช้กม.ที่ดีเป็นอันดับ 2

1.2.3.1.2. กม.เป็นสิ่งสูงสุด ไม่ให้มีการใช้อำนาจลำเอียง เอาผลประโยชน์เข้าตนเอง

1.2.3.2. Aristotle

1.2.3.2.1. มนุษย์ปกครองเองอันตรายเพราะใช้อารมณ์

1.2.3.2.2. ถ้าไม่มีกม. ต้องมีศาล เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมรายกรณี

1.2.4. สาระสำคัญ

1.2.4.1. 1. การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ

1.2.4.1.1. สิทธิ = อำนาจที่กม.รับรองให้แก่บุคคุลที่จะกระทำเกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน หรือบุคคลอื่น ก่อให้เกิดหน้าที่

1.2.4.1.2. เสรีภาพ = อำนาจของบุคคลที่จะกำหนดตนเอง

1.2.4.2. 2. การแบ่งแยกอำนาจ

1.2.4.2.1. ป้องกันไม่ให้อำนาจอยู่รวมที่บุคคลหรือคณะเดียว

1.2.4.2.2. กำหนดให้องค์กรอื่นมีส่วนร่วมในกระบวนการแต่งตั้งบุคคลเข้าสู่อำนาจ

1.2.4.2.3. ตรวจสอบการกระทำของรัฐ

1.2.4.3. 3. มีผลผูกพันองค์กร

1.2.4.3.1. การดำเนินการขององค์กรต้องผูกพันโดยกม.

1.2.4.4. 4. หลักความชอบด้วยกม.

1.2.4.4.1. ไม่มีกม. - ไม่มีอำนาจ

1.2.4.5. 5. หลักนิติรัฐกับความมั่นคงของกม.

1.2.4.5.1. ต้องแน่นอน + ชัดเจน

1.2.4.5.2. มีความต่อเนื่อง

1.2.4.5.3. ความพิพากษาถึงที่สุด

1.2.4.5.4. ไม่มีความผิดและไม่มีโทษโดยไม่มีกม.

1.2.4.6. 6. หลักความชอบด้วยกม.ของฝ่ายตุลาการ+ความเป็นอิสระของผู้พิพากษา

1.2.4.6.1. ไม่พิจารณาพิพากษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้แตกต่างไปจากบทบัญญัติของกม.

1.2.4.6.2. ปรับใช้กม.อย่างเท่าเทียมกัน

1.2.4.6.3. ต้องใช้ดุลยพินิจโดยปราศจากข้อบกพร่อง

1.2.4.6.4. อิสระในการปฎิบัติหน้าที่ตุลาการ

1.2.4.6.5. อิสระในทางองค์กร

1.2.4.6.6. อิสระในตัวบุคคล

1.2.5. รัฐจำกัดตนเองใต้กม. ทำการเมื่อกม.ให้อำนาจกระทำไปโดยไม่ขัดต่อกม.

1.2.5.1. กม.ต้องเป็นกม.ที่ดี มีกระบวนการตราที่ถูกต้อง

1.2.5.1.1. รัฐต้องอยู่ภายใต้การควบคุมขององค์กรตุลาการ

2. โครงสร้างของฝ่ายปกครอง "การจัดระเบียบบริหารราชการ"

2.1. การจัดระเบียบบริหารราชการ รัฐบาลมีอำนาจในการบริหาร ในฐานะรัฐบาล และฐานะฝ่ายปกครอง เพื่อจัดทำบริการสาธารณะ

2.2. การกระทำทางปกครองเป็นผลผลิตของการใช้อำนาจรัฐตามกม.ของฝ่ายปกครอง

2.2.1. ข้อยกเว้น

2.2.1.1. เกิดจากองค์กรอื่นที่ไม่ฝ่ายปกครองก็ถือเป็นการกระทำทางปกครอง เช่น องค์กรของรัฐฝ่ายนืติบัญญัติ ที่ใช้อำอาจตามพรบ. และองค์กรเอกชนที่ใช้อำนาจแทนรัฐบาล

2.3. ฝ่ายปกครองคืออะไร

2.3.1. ความหมายดั้งเดิม

2.3.1.1. หน่วยงานของรัฐฝ่ายบริหาร

2.3.1.1.1. บรรดาหน่วยงานของรัฐที่อยู่ใต้บังคับขัญชาหรือกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง

2.3.1.1.2. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งโดย พรบ. หรือพรฎ ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง

2.3.1.1.3. หน่วยงานอื่นของรัฐ

2.3.1.2. องค์กรของรัฐฝ่ายปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ายปกครอง

2.3.1.2.1. King

2.3.1.2.2. คณะรัฐมนตรี

2.3.1.2.3. นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี

2.3.1.2.4. บรรดาองค์กร/เจ้าหน้าที่ต่างๆที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือกำกับดูแลควบคุมทั้งทางตรงทางอ้อมของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง

2.3.2. ความหมายสมัยใหม่

2.3.2.1. รวมถึงองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ หน่วยงานอิสระของรัฐ และเจ้าหน้าที่ในสังกัดดังกล่าวด้วย

2.3.2.1.1. ได้รับมอบหมายอำนาจนิติบัญญัติ ตุลาการ ซึ่งมีอำนาจบริหารงานโดยไม่อยู่ภายใต้บังคับบัญชของรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง

2.3.2.1.2. ต้องพิจารณาว่าองค์กรของรัฐนี้ใช้อำนาจตามกม.ใด

2.3.2.1.3. เฉพาะองค์กรอิสระที่กระทำโดยอาศัยอำนาจตามพรบ.เท่านั้นจึงจะถือว่าเป็นองค์กรของรัฐฝ่ายปกครอง

2.3.3. ความแตกต่างขององค์กรฝ่ายอื่นของรัฐและฝ่ายปกครอง

2.3.3.1. ดูด้านองค์กร

2.3.3.2. ดูด้านเนื้อหา

2.3.3.2.1. งานนิติบัญญัติ-กำหนดกฎเกณฑ์

2.3.3.2.2. งานตุลาการ-ตัดสินข้อพิพาท

2.4. สรุปงานของฝ่ายปกครอง ดูว่าใครจัดทำ ตอบสนอง การจัดทำบริการสาธารณะ ประโยชน์มหาชน ภายใต้กม.พรบ.อะไร

2.5. หลักในการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

2.5.1. 1. หลักรวมอำนาจทางปกครอง

2.5.1.1. ลักษณะสำคัญ 1. รวมกำลังในการบังคับ 2. รวมอำนาจวินิจฉัย 3. มีลำดับชั้นการบังคับบัญชา

2.5.1.2. 1. รวมศูนย์อำนาจการปกครอง การตัดสินใจเป็นของส่วนกลาง ไม่มีการมอบอำนาจในการตัดสินใจแก่จนท.ในภูมิภาค ////// 2.กระจายการรวมศูนย์อำนาจ ให้อำนาจในการตัดสินใจบางเรื่อง ดำเนินการได้ตามสมควร ตามแนวทางที่ส่วนกลางกำหนด

2.5.1.2.1. รวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง...ช้า - กระทรวง กรม

2.5.2. 2. หลักกระจายอำนาจทางปกครอง

2.5.2.1. รัฐมอบอำนาจปกครองบางส่วนให้กับองค์กรอื่นนอกจากองค์กรของส่วนกลางเพื่อทำบริการสาธารณะอย่างอิสระ ไม่อยู่ในการบังคับบัญชาของส่วนกลาง แต่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของส่วนกลาง

2.5.2.2. กระจายอำนาจทางพื้นที่

2.5.2.2.1. จนท.ท้องถิ่นเป็นอิสระจากส่วนกลาง จัดทำกิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง มีงบทำกิจกรรมด้วยตนเอง

2.5.2.3. กระจายอำนาจทางกิจการ

2.5.2.3.1. มอบ ให้องค์การของรัฐไปจัดทำ โดยแยกออกมาเป็นนิติบุคคล มีทรัพย์สินของตนเอง มีผู้บริหารของตนเอง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐ

2.5.3. 3. หลักการแบ่งอำนาจ

2.5.3.1. *ต่างกันตรง

3. กิจกรรมฝ่ายปกครอง

3.1. การจัดการและดำเนินกิจกรรมของรัฐ เพื่อนวัตถุประสงค์คือ "ประโยชน์สาธารณะ" โดยแบ่งออกเป็น 2 ด้าน

3.1.1. 1. ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง

3.1.1.1. การรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง

3.1.1.1.1. มั่งคง

3.1.1.1.2. ปลอดภัย

3.1.1.1.3. สงบสุข

3.1.1.1.4. สุขอนามัย

3.1.1.1.5. ศีลธรรมบ้านเมือง

3.1.1.2. ตำรวจทางปกครอง/จนทปกครอง (Police administrative)

3.1.1.2.1. เช่น เก็บขยะ จับผู้ร้าย ดับเพลิง เทศกิจ ทหาร ตำรวจท้องถิ่น ตำรวจป่าไม้ ตำรวจน้ำ อภปร. ศุลกากร

3.1.1.2.2. ทำภารกิจที่ใช้อำนาจควบคุมการใช้เสรีภาพของปัจจเจกชน ที่ฝ่ายปกครองเข้าไปแทรกแซงความเป็นไปของสังคมเพื่อจัดระเบียบและรักษาความสงบเรียบร้อย โดยเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง

3.1.1.2.3. เครื่องมือการใช้อำนาจ

3.1.1.2.4. ประเภทตำรวจทางปกครอง

3.1.2. 2. การจัดทำบริการสาธรณะเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน

3.1.2.1. บริการสาธารณะ (Service Public)

3.1.2.1.1. เช่น โรงพยาบาล ไฟฟ้า ประปา การศึกษา พิพิทธิภัณฑ์ บ้านคนชรา จับหมาจรจัด