1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.1. เครือข่ายส่วนบุคคล : PAN
1.1.1. ใช้ส่วนบุคคล
1.2. เครือข่ายเฉพาะที่ : LAN
1.2.1. ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
1.3. เครือข่ายนครหลวง : MAN
1.3.1. ใช้เชื่อมโยงแลนที่อยู่ห่างไกลออกไป
1.4. เครือข่ายวงกว้าง : WAN
1.4.1. ใช้การเชื่อมโยงกับเครือข่ายอื่นที่อยู่ไกลกันมาก
1.5. ลักษณะของเครือข่าย
1.5.1. รับ-ให้บริการ : client-server network
1.5.2. ระดับเดียวกัน : P2P network
1.6. รูปร่างเครือข่าย
1.6.1. แบบบัส
1.6.1.1. โครงสร้างไม่ยุ่งยาก เชื่อมต่อกับบัสเพียงสายเดียว
1.6.2. แบบวงแหวน
1.6.2.1. เชื่อมแต่ละสถานี
1.6.3. แบบดาว
1.6.3.1. ต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง เช่น ฮับ / สวิตซ์
1.6.4. แบบเมช
1.6.4.1. ประสิทธิภาพสูง
2. โพรโทคอล
2.1. TCP / UP
2.1.1. ใช้ในการสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ต
2.2. Wi-Fi
2.2.1. เป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสาร
2.3. IrDA
2.3.1. เชื่อมคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายระยะใกล้
2.4. Bluetooth
2.4.1. รับ-ส่งข้อมูลคล้ายกับ LAN
3. อุปกรณ์การสื่อสาร
3.1. Modem
3.1.1. แปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก
3.1.2. Dial-up modem
3.1.3. Digital modem
3.2. LAN card
3.2.1. เชื่อมคอมพิวเตอร์กับสายตัวนำสัญญาณ
3.3. Hub
3.3.1. รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์ต่างๆเข้าด้วยกัน
3.4. Switch
3.4.1. รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์ แล้วนำข้อมูลส่งต่ออุปกรณ์เป้าหมาย
3.5. Router
3.5.1. เชื่อมโยงเครือข่ายเข้าด้วยกัน
3.6. Wireless access point
3.6.1. ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย
4. ตัวอย่างการติดตั้งแลนภายในบ้าน
4.1. การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเข้าด้วยกันโดยผ่านสวิตซ์
5. การสื่อสารข้อมูล
5.1. ประกอบด้วย
5.1.1. ข้อมูล ข่าวสาร
5.1.2. ผู้ส่ง
5.1.3. ผู้รับ
5.1.4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล
5.1.5. โพรโทคอล
5.2. สัญญาณที่ใช้
5.2.1. แอนะล็อก
5.2.2. ดิจิทัล
5.3. การถ่ายโอนข้อมูล
5.3.1. แบบขนาน
5.3.1.1. ส่งข้อมูลออกมาทีละหลายบิตพร้อมกันจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ผ่านสื่อกลางนำสัญญาณหลายช่องทาง
5.3.2. แบบอนุกรม
5.3.2.1. ส่งออกมาทีละบิตระหว่างจุดส่งและจุดรับ ผ่านสื่อกลางนำสัญญาณเพียงช่องเดียวหรือคู่สายเดียว
5.4. รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล
5.4.1. การสื่อสารทางเดียว
5.4.1.1. ส่งได้ทางเดียวโดยแต่ละฝ่ายจะทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การกระจายเสียงของสถานีโทรทัศน์หรือวิทยุ
5.4.2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา
5.4.2.1. ผลัดกันส่งและผลัดกันรับ เช่น วิทยุสื่อสาร
5.4.3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา
5.4.3.1. สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์
6. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
6.1. สื่อกลางแบบใช้สาย
6.1.1. สายคู่บิดเกลียว
6.1.2. สายโคแอกซ์
6.1.3. สายไฟเบอร์ออพติก
6.2. สื่อกลางแบบไร้สาย
6.2.1. อินฟราเรด
6.2.2. ไมโครเวฟ
6.2.3. คลื่นวิทยุ
6.2.4. ดาวเทียมสื่อสาร
7. บทบาทของการสื่อสาร
7.1. ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
7.2. ประโยชน์
7.2.1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล
7.2.2. ความถูกต้องของข้อมูล
7.2.3. ความเร็วของการรับ-ส่งข้อมูล
7.2.4. การประหยัดค่าใช้จ่าย
7.2.5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร
7.2.6. ความสะดวกในการประสานงาน
7.2.7. ขยายบริการขององค์กร
7.2.8. การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย