อุตสหากรรมบันเทิงไทยและอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อุตสหากรรมบันเทิงไทยและอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลี by Mind Map: อุตสหากรรมบันเทิงไทยและอุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลี

1. ข้อแตกต่างอุตสหากรรมไทยกับเกาหลี

1.1. 1. มีความหลากหลายในเรื่องของเพลงมากกว่าเกาหลี

1.2. 2. มีการแข่งขันน้อยกว่าเกาหลี

1.3. 3. เส้นทางการที่จะเป็นศิลปินง่ายกว่าเกาหลี

1.4. 4. เกาหลีเน้นขายดารามากกว่าไทย

1.5. 5. เกาหลีมีสังกัดคอยกำหนด

2. อุตสาหกรรมบันเทิงเกาหลี

2.1. Korean Wave เป็นคำศัพท์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้สื่อถึงความคลั่งไคล้ในวัฒนธรรมเกาหลีที่เพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต่ช่วง ปลายปี 1990 ต่อมามีการเรียกปรากฏการณ์ใหม่นี้ว่า “Hallyu” ซึ่งแปลว่า “Flow of Korea” หรือกระแส เกาหลีฟีเว่อร์เกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชียเมื่อปี 1997 ซึ่งเกาหลีเองก็ได้เผชิญวิกฤตนี้ด้วยเช่นกัน ทาง IMF จึงต้องการ ให้เกาหลีใต้เปิดตลาด ต่อมาเกาหลีใต้ได้ปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศใหม่ส่งผลให้เกิดผลข้างเคียงต่อวัฒนธรรม เกาหลีที่ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่สูงขึ้นนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการนำเข้าสินค้าทางวัฒนธรรมจากญี่ปุ่น เข้ามาในเกาหลีใต้ซึ่งก่อให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ๆ ในวงการภาพยนตร์ทางรัฐบาลได้ สร้างระบบ โควตาภาพยนตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพของภาพยนตร์ทำให้ คนเกาหลีใต้รับชมและนำเข้าภาพยนตร์ ฮอลลิวูดน้อยลงเพื่อทำการปฏิรูปเศรษฐกิจในปี 1998ในช่วงแรกแผนนี้ถูกขับเคลื่อนโดยการเผยแพร่ละครทีวีเกาหลีหรือ K-dramas สู่เอเชียตะวันออกและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในระหว่างนี้เองที่ Korean Wave ค่อยๆพัฒนาเป็นความมหัศจรรย์ระดับโลกโดยวัด ได้จากจากยอด ผู้เข้าชมมิวสิควิดีโอ Korean pop (K-pop) บนเว็บไซต์ YouTube ในปัจจุบันการแผ่ขยายของ Korean Wave ไปยังภูมิภาคอื่นในโลกโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นหรือวัยเริ่มทำงานในลาตินอเมริกา, อินเดียเหนือ, ตะวันออกกลาง, แอฟริกาเหนือ และประเทศเล็กๆในแถบยุโรป

2.2. ประเภท

2.2.1. ภาพยนต์

2.2.1.1. ส่วนใหญ่จะเป็นหนังเเนวดราม่า เเละเน้นความสมจริง

2.2.2. เพลง

2.2.2.1. จะขายดารามากกว่าเนื้อร้องเเละมีสังกัดเป็นของตนเอง

2.2.3. รายการโทรทัศน์

2.2.3.1. จะเป็นรายการเกมโชว์ เเละรายการตลก

2.2.4. ละคร

2.2.4.1. ส่วนใหญ่จะเน้นไปทางซีรีย์

2.3. ข้อเสีย

2.3.1. 1.มีความหลากหลายน้อย

2.3.2. 2.ต้องมีสังกัดคอยควบคุม ทำอะไรตามใจชอบไม่ได้

2.3.3. 3.การเเข่งขันสูง

2.3.4. 4.มีเเฟนคลับที่เอาจริงเอาจัง เวลาทำผิดก็จะคอยซ้ำเติมทันที ทำผิดหนึ่งครั้งอาจจบชีวิตในวงการได้

2.4. ข้อดี

2.4.1. 1.รัฐบาลสนับสนุนในเรื่องงบประมาณในการผลิดรายการโทรทัศน์ เเละ ภาพยนต์

2.4.2. 2.ศิลปินเเต่ละคนมีรายได้สูง

2.4.3. 3.กฎหมายทาง พรบ คอม เข้มงวด

2.4.4. 4.การเเสดงเน้นความสมจริงมากๆ

2.5. จุดอ่อน

2.5.1. ศิลปินโดนหักเปอร์เซ็นจากต้นสังกัดเยอะ

2.6. จุดเเข็ง

2.6.1. ศิลปินเเต่ละคนมีความสามรถเเตกต่างกัน ทำให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ

3. อุตสหากรรมบันเทิงไทย

3.1. ในอดีตอุตสาหกรรมบันเทิงของไทยยังไม่ค่อยโตเติบเท่าปัจจุบันมากนัก จนมาถึงยุคที่ใกล้เข้าสู่อาเซียน หากมีการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมชาติอาเซียน จะถือว่าเป็นการยกระดับสู่สากล ในเปิดประตูสู่อาเซียนปี พ.ศ. 2558 อุตสาหกรรมสื่อภาพยนตร์คงต้องเตรียมรับมือทางด้านธุรกิจมากขึ้น เพราะทุกวันนี้ไทยมีการซื้อขายภาพยนตร์กับต่างชาติ เช่น ประเทศมาเลเซีย อินโดนิเซีย ซึ่งสื่อภาพยนตร์ที่จะสร้างรายได้ให้มาก จะเป็นพวกภาพยนตร์ที่อิงประวัติศาสตร์

3.2. ประเภท

3.2.1. ภาพยนตร์

3.2.1.1. จะมีอิงประวัติศาสตร์และหนังตลกซะส่วนใหญ่

3.2.2. เพลง

3.2.2.1. เพลงไทยจะเน้นขายเนื้อร้องมากว่านักร้องหรือสมาชิกในวง ส่วนมากจะเป็นนักร้องเดี่ยวมากกว่ากลุ่ม

3.2.3. รายการโทรทัศน์

3.2.3.1. รายการโทรทัศน์ของไทยส่วนมากจะซื้อลิขสิทธิ์มากจากเกาหลี และจะเน้นขายContentมากกว่าดารารับเชิญ เช่น mask singer,I can see your voice

3.2.4. ละคร

3.2.4.1. ละครไทยมักไม่มีจุดเด่นซักเท่าไหร่ เพราะเนื้อเรื่องจะเป็นพอทเดิมๆ และไม่น่าสนใจ ไทยจะเน้นในเรื่องซีรี่ย์มากกว่าละคร

3.3. จุดอ่อน

3.3.1. เรามีจุดอ่อนในเรื่องความหลากหลายของเนื้อหาบทภาพยนตร์บ้านเราไม่ค่อยมีบทที่แข็งแรงเหมือนต่างชาติสักเท่าไหร่ส่วนมากจะเน้นแต่เรื่องผี เรื่องความรัก เป็นส่วนใหญ่ ไม่ค่อยมีแนวอื่นๆรวมถึงเรื่องของการละเมิดลิขสิทธิ์ที่ยังไม่มีการปราบปรามอย่างเข้มงวดสักที

3.4. จุดแข็ง

3.4.1. มีลูกเล่นที่หลากหลาย ไม่ซ้ำซาก

3.5. ข้อดี

3.5.1. 1. ไม่ค่อยมีการแข่งขันภายในประเทศซักเท่าไหร่

3.5.2. 2. แฟนคลับไม่เอาจริงเอาจังเหมือนต่างประเทศ

3.5.3. 3. แฟนคลับไม่ตอกย้ำเวลาทำผิด

3.5.4. 4. เป็นวงอิสระ ไม่มีสังกัดคอยบังคับ

3.6. ข้อเสีย

3.6.1. 1. ไม่ระวังเรื่องการละมิดหรือทำผิด พรบ.คอม

3.6.2. 2. รายได้ของศิลปินต่ำ

3.6.3. 3. ภาษาไทยไม่ใช่ภาษาสากลจึงเผยแพร่ออกต่างประเทศน้อยมาก

3.6.4. 4. ไม่มีความจริงในเรื่องการแสดงซักเท่าไหร่

3.6.5. 5. ด้อยด้านเทคโนโลยีในการผลิต

3.6.6. 6. ของบในการผลิตไม่ได้