1. ระบบประสาท
1.1. มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆทั้งภายนอกและภายใน เป็นศูนย์กลางความรู้สึก ทำให้เกิดการรับสัมผัสและแสดงพฤติกรรมต่างๆ
1.2. โครงสร้างระบบประสาท
1.2.1. เซลล์ประสาท
1.2.1.1. cell body
1.2.1.1.1. ประกอบไปด้วย protoplasm และ nucleus ทำหน้าที่ระบและส่งกระแสประสาท
1.2.1.2. dendrite
1.2.1.2.1. มีลักษณะคล้ายรากต้นไม้ ทำหน้าที่รับกระแสประสาทจากกล้ามเนื้อ
1.2.1.3. axon
1.2.1.3.1. เป็นใยส่งความรู้สึกแตกออกมาจากตัวเส้น ลักษณะเป็นเส้นเดียวและยาวมาก
1.2.1.4. synapse
1.2.1.4.1. เป็นจุดต่อระหว่างแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่งกับเดนไดร์ของอีกเซลล์ประสาทหนึ่ง
1.2.1.5. ประเภทของเซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่
1.2.1.5.1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
1.2.1.5.2. เซลล์ประสาทมอเตอร์
1.2.1.5.3. เซลล์ประสาท้ชื่อมโยง
1.2.2. เส้นประสาท
1.2.2.1. เกิดจากการรวมตัวของเซลล์ประสาทหลายๆตัวรวมกันเป็นมัดๆ
1.2.2.2. เส้นประสาทที่ออกจากสมอง มีทั้งหทด 12 คู่
1.2.2.3. เส้นประสาทที่ออกจากไขสันหลัง มีทั้งหมด 31 คู่
1.3. ประเภทของระบบประสาท
1.3.1. ระบบประสาทส่วนกลาง
1.3.1.1. เป็นศูนย์กลางของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก และ เซลล์ประสาทมอเตอร์จำนวนมาก
1.3.1.2. สมอง
1.3.1.2.1. ใช้ในมรสีเทาและชั้นนอกมีสีขาว
1.3.1.2.2. สมองแท้
1.3.1.2.3. สมองเล็ก
1.3.1.2.4. สมองส่วนกลาง
1.3.1.2.5. ทาลามัส
1.3.1.2.6. ไฮโปทาลามัส
1.3.1.2.7. ระบบลิมบิก
1.3.1.2.8. พอนส์
1.3.1.2.9. ก้านสมอง
1.3.2. ระบบประสาทส่วนนอก
1.3.2.1. มีหน้าที่ควมคุมการทำงานของร่างการที่สมองสามารถสั่งการได้หรือเรียกว่า ต้อำนาจจิตใจ
1.3.2.2. ประกอบด้วยเส้นประสาทที่มาจากสมอง 12 คู่
1.3.2.3. รับส่งความรู้สึกตั้งแต่ลำคอเป็นต้นไป
1.3.3. ระบบประสาทอัตโนมัติ
1.3.3.1. ซิมพาเทติก
1.3.3.1.1. ทำงานในสภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ร่างกายเตรียมพร้อมสู้หรือหนี
1.3.3.2. พาราซิมพาเทติก
1.3.3.2.1. ทำงานหลังจากซิมพาเทติก ช่วยให้ร่างการทำงานตามปกติ
2. ระบบต่อม
2.1. มีท่อ
2.2. ไร้ท่อ
2.2.1. พิทูอิทารี่
2.2.1.1. ผลิตมาสเตอร์แกลน ทำหน้าที่ควมคุมต่อมไร้ท่อที่เหลืออีก 7 ต่อม
2.2.1.2. ส่วนหน้า ผลิตโกรทฮอร์โมน
2.2.1.3. ส่วนกลาง ผลิตฮอร์โมนอินเตอร์มิดิน
2.2.1.4. ส่วนท้าย ผลิตฮอร์โมน พิตริวตริน
2.2.2. ต่อมไทรอย
2.2.2.1. ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน มีผลต่อเม็ตตาบอลิซอม สร้างความกระปรี้กระเปร่าให้ร่างกาย
2.2.3. ต่อมพาราไทรอย
2.2.3.1. ฮอร์โมนพาราเทอร์โมน ควมคุมการทำงานน้ำย่อย
2.2.4. ต่อไทมัส
2.2.4.1. ผลิตฮอร์โมน ไทโมวิดิน ทำงานแค่อายุ 7 ปีเท่านั้น ทำให้ร่างการมีการเจริญเติบโตที่ไม่เร็วเกินไป
2.2.5. ต่อมอะดรีนอล
2.2.5.1. ผลิตอะดรีนนาลีน และคอร์ติโซนต้านทานโรค
2.2.6. ต่อมเแพนเครียส
2.2.6.1. หลั่งกลูคากอน เพิ่มปริมาณน้ำตาลในกระแสเลือด และอินซูลินควมคุมน้ำตาลในกระแสเลือดให้กลับสู่สภาวะสมดุล
2.2.7. ต่อมเพศ
2.2.7.1. ฝ่ายหญิงฝ่ายชายอยู่คนละที่กัน ฝ่ายายอยู่ที่อัณฑะผลิตเทสโทสเทอโรส
2.2.7.2. ฝ่ายหญิงอยู่ที่รังไข่ ผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจน โปรเจนเตอโรน
2.2.8. ต่อมไพเนียล
2.2.8.1. ทำงานในเฉพาะวัยเด็กเท่านั้น ควมคุมไม่ให้ความต้องการทางเพศมาก่อนวัยอันควร
3. ระบบกล้ามเนื้อ
3.1. กล้ามเนื้อหัวใจ
3.1.1. กล้ามเนื้อพิเศษพบในเฉพาะหัวใจ ถูกความคุมโดยประบบประสาทอัตโนมัติ จังหวะเดียวกันไปตลอดชีวิต
3.2. กล้ามเนื้อเรียบ
3.2.1. เป็นกล้ามเนื้ออยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ทำงานตามระบบประสาทอัตโนมัติ พบในอวัยวะภายในยกเว้นหัวใจ
3.3. กล้าามเนื้อลาย
3.3.1. เป็นกล้ามเนื้อประเภทอยู่ภายใต้อำนาจจิตใจ หรือสมองสั่งการได้ เช่นแขน ขาเป็นส่วนใหญ่