วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกราม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกราม by Mind Map: วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกราม

1. ข้อพิจารณาในการออกแบบการทำงานสำหรับพัฒนาโปรแกรม

1.1. โดยการทั่วไปการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงต่างๆ มักมีไวยากรณ์ภาษาและใช้คำสั่งคล้ายกัน ที่มีความใกล้เคียงกับการเขียนรหัสเทียม ในขั้นตอนการวางแผนแก้ไขปัญหาสำหรับการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเทียม

2. รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2.1. การเขียนโปรแกรทแบบบนลงล่าง (top-Down Programming)

2.2. การเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์ (Modular Programming)

2.3. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)

3. คุณลักษณะขอโปรแกรมที่ดี

3.1. มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ (Correctness and reliability)

3.2. มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ (User-friedliness)

3.3. ค่าใช้จ่ายต่ำ (low cost)

3.4. ต้องอ่ายง่ายและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ (readability & reusability)

3.5. มีความปลอดภัย (security)

4. วงจรการพัฒนาโปรแกรม

4.1. มี 6 ขั้นตอน

4.1.1. 1. ขั้นวิเคราะห์ความต้องการ (requirement analysis & feasibility study)

4.1.1.1. 1. กำหนดขอบเขตของปัญหา

4.1.1.2. 2. กำหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (input specification)

4.1.1.3. 3. กำหนดรูปแบบผลลัพธ์ (output specification)

4.1.1.4. 4. กำหนดตัวแปรที่ใช้ (variables)

4.1.1.5. 5. กำหนดวิธีการประมวลผล (process specification)

4.1.2. 2. ขั้นางแผนแก้ไขปัญหา (algorithm design)

4.1.2.1. การเขียนอัลกอริธึม

4.1.2.2. การเขียนผังงาน

4.1.3. 3. ขั้นดำเนิการเขียนโปรแกรม (program coding)

4.1.3.1. ขั้นการเขียนโปรแกรม เป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งขึ้นมาโดยเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน ตวามถนัดของผู้เขียน เช่น ถ้าเป็นงานทางธุรกิจก็เลือกใช้ภาษาโคบอล ถ้าเป็นการพิมพ์รายงานก็ใช้ภาษาอาร์พีจี เป็นต้น

4.1.4. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (program testing & debugging)

4.1.4.1. 1. ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา (syntax error)

4.1.4.2. 2. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการตีความหายของปัญหาผิดไป (logical error)

4.1.5. 5. ขั้นการเขียนเอกสารประกอบ (documentation)

4.1.5.1. 1. คู่มือผู้ใช้ (users manual)

4.1.5.2. 2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ (programmers manual)

4.1.6. 6. ขั้นบำรุงรักษาโปรแกรม (program mianternance)

4.1.6.1. เป็นขั้นตอนหลังจากที่ใช้โปรแกรมที่สร้างขึ้นไปแล้วระยะหนึ่ง จำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับความเป็นจริง เช่น รูปแบบการรายงาน นอกงานนี้การบำรุงรักษาโปรแกรมยังรวมไปถึงการรักษาสื่อข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได่เสมอ