การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. (Nephrotic syndrome)

1.1. สาเหตุ

1.1.1. ผิดปกติที่ไต

1.1.1.1. Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก

1.1.1.2. Congenital nephrosis / Congenital NS

1.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis

1.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ

1.1.2.1. โรคติดเชื้อ ภูมิแพ้ โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือดของไต (Renal vein thrombosis) หัวใจวาย (Congestive heart failure) เนื้องอกชนิดร้าย (Malignancies) โรคอื่น ๆ เช่น Collagen disease : SLE, Anaphylactoid purpura, Multiple myeloma

1.2. อาการและการแสดงทางคลินิก

1.2.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

1.2.2. บวมรอบหนังตา (Periorbital edema) และหน้าในเวลาตื่นนอนเช้า

1.2.3. บวมทั่วตัว(Generalized edema or Anasarca)

1.2.4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำ บาก ผิวหนังซีด

1.3. พยาธิ

1.3.1. ผิดปกติที่ Glomerular basement membraneเพิ่ม permeabilityทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้นส่วนใหญ่จะเป็น อัลบูมิน และอิมมูโนโกลบูลิน (Ig) และจะทำให้เกิดอาการต่างๆ ตามมา

1.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.4.1. UA พบ proteinuria และ sediment ในเม็ดเลือดสูง

1.4.2. Chemistry พบ hypercholeterolemia และ hypoalbuminemia

1.4.3. Autoimmune profileเพื่อหาโรคที่อาจเป็นสาเหตุของ secondary nephrotic syndrome

1.4.4. 24 hr urine protein พบเกินกว่า 3.5 g/day/1.73 m2

1.5. การพยาบาล

1.5.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.5.2. 2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

1.5.3. 3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

1.5.4. 4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

1.5.5. 5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทาํํ งานของหัวใจ และลดอาการ Dyspnea ที่อาจมี

1.5.6. 6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย

1.5.7. 7. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

1.5.8. 8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

2. Urinary tract infection

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เกิดขึ้นจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งส่วนใหญ่ โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ จะเกิดขึ้นที่บริเวณทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง

2.2. อาการและการแสดงทางคลีนิก

2.2.1. - เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

2.2.2. - เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

2.3. พยาธิ

2.3.1. เกิดขึ้นเมื่อแบคทีเรียเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ โดยผ่านทางท่อปัสสาวะ

2.3.2. โดยส่วนใหญ่โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มักเกิดจากเชื้อ E. coli (อี. โคไล) และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร

2.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.4.1. ตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดขาว

2.4.2. การตรวจทางรังสีวิทยา : Voiding cystourethrogram เพื่อตรวจค้นหา VUR ร่วมกับ (US) หรือ (IVP) เพื่อดูโครงสร้างของระบบปัสสาวะ

2.5. การพยาบาล

2.5.1. 1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

2.5.2. 2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

2.5.3. 3. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

2.5.4. 4. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

2.5.5. 5. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.1.1. ภูมิคุ้มกันต่ำ เกิดหลังการติดเชื้ออื่นๆ ของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis จาก - Streptococcus gr. A. (Post-streptococcal glomerulonephritis)

3.1.2. การติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อยคือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

3.2. อาการและการแสดงทางคลินิก

3.2.1. หลังติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน จะเริ่มมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ชนิดกดไม่บุ๋มและบวมไม่มาก

3.2.2. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะมีอาการซีด กระสับกระส่ายและอ่อนเพลียมาก

3.2.3. บางรายอาการรุนแรงมากถึงขั้นชัก

3.3. พยาธิ

3.3.1. การติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น

3.3.2. เกิด Antigen-antibody complex ทำ ให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลาย

3.3.3. การกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ

3.3.4. เกิดอาการคั่งของนํ้าและของเสีย

3.4. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.4.1. พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว Casts อัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือเพาะเชื้อไม่ขึ้น

3.4.2. ระดับ Na+, K+ , Cl - , CO2CP ปกติหรือสูงในรายที่มีาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอตินิน

3.4.3. กรดยูริคสูง , ASO อาจสูงถึง 200 Todd units หรือมากกว่านั้น ESR สูง จำ นวนเม็ดเลือดขาวปกติ ค่าความถ่วงจำ เพาะสูง C - reactive protein (CRP) สูง

3.5. การพยาบาล

3.5.1. 1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

3.5.2. 2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

3.5.3. 3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

3.5.4. 4. ลดความดันโลหิต

3.5.5. 5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

3.5.6. 6. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

3.5.7. 7. อำ นวยความสุขสบายของร่างกาย

3.5.8. 8. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

3.5.9. 9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

4. Phimosis in children

4.1. สาเหตุ

4.1.1. เด็กทารกแรกเกิดเพศชายมากกว่าร้อยละ 90 โดยปกติจะไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศขึ้นไปได้ เนื่องจากมีการติดกันระหว่างเยื่อบุผิวด้านในของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ และส่วนหัวของอวัยวะเพศ ภาวะนี้เป็นภาวะปกติของการพัฒนาทางสรีรวิทยาของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศในเด็กผู้ชายตั้งแต่แรกเกิด และค่อยๆรูดได้มากขึ้นตามธรรมชาติเมื่อเวลาผ่านไป

4.1.2. อาการและการแสดงทางคลีนิก

4.1.2.1. - มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

4.1.2.2. - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

4.1.2.3. - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย (balanoposthitis)

4.1.2.4. - ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง (true phimosis)

4.1.2.5. - มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน(urinary tract infection , UTI)

4.1.2.6. - มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma)

4.1.2.7. - หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions)

4.1.2.8. - รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)

4.2. การวินิจฉัย

4.2.1. 1. เด็กผู้ชายตั้งแต่เรกเกิดที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศขึ้นไปได้จัดเป็นภาวะปกติ

4.2.2. 2. เด็กผู้ชายที่มีการอักเสบของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเรื้อรังจนหนังหุ้มอวัยวะเพศส่วนปลายเป็นแผลแข็งสีขาวตีบแคบโดยรอบ

4.3. การพยาบาล

4.3.1. 1.ใช้ยาสเตียรอยด์ทาเฉพาะที่

4.3.2. 2.การผ่าตัดขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ