
1. ห้องเรียนกลับด้านกับการเรียนแบบรอบรู้
1.1. การจัดประสบการณ์ทางการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน ( Flipped Classroom )นั้นจะก่อให้เกิด กระบวนการสร้างองค์ความรู้ที่เรียกว่า “การเรียนแบบรอบรู้หรือการเรียนให้รู้จริง ( Mastery Learning )”
1.2. ลักษณะสำคัญของการเรียนแบบรู้จริง ( Mastery Learning )
1.2.1. ผู้สอนกำหนดวัตถุประสงค์อย่างละเอียดในการเรียนรู้เนื้อหาสาระ จัดเรียงจากง่ายไปหายาก
1.2.2. ผู้สอนมีการวางแผนการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนแต่ละคนให้สามารถตอบสนองความถนัดที่ แตกต่างกันของผู้เรียน
1.2.3. ผู้สอนแจ้งให้ผู้เรียนเข้าใจในจุดมุ่งหมาย วิธีการเรียน ระเบียบกติกา ข้อตกลงต่างๆในการ ทำงานให้ชัดเจน
1.2.4. ผู้เรียนมีการดำเนินการเรียนรู้ตามแผนการเรียนที่ผู้สอนจัดให้ มีการประเมินการเรียนตาม วัตถุประสงค์แต่ละข้อ โดยผู้สอนคอยดูแลและให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล
1.2.5. หากผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์หนึ่งที่กำหนดไว้แล้ว จึงจะมีการดำเนินการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ต่อไป
1.2.6. ผู้เรียนไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ผู้สอนต้องมีการวินิจฉัยปัญหาและความ ต้องการของผู้เรียน และจัดโปรแกรมการสอนซ่อมในส่วนที่ยังไม่บรรลุผลนั้น แล้วจึง ประเมินผลอีกครั้งหนึ่ง
1.2.7. ผู้เรียนดำเนินการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดจนบรรลุครบทุกวัตถุประสงค์ ซึ่งผู้เรียนอาจใช้เวลามากน้อยต่างกันตามความถนัดและความต้องการของผู้เรียนแต่ละคน
2. ผลประโยชน์ที่เกิดจากการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน
2.1. เปลี่ยนวิธีการสอนของครู จากการบรรยายหน้าชั้นเรียนหรือจากครูสอนไปเป็นครูฝึก
2.1.1. Project specifications
2.1.2. End User requirements
2.1.3. Action points sign-off
2.2. ใช้เทคโนโลยีการเรียนที่เด็กสมัยใหม่ชอบ โดยใช้สื่อ ICT
2.3. ช่วยให้เด็กเรียนไว้ ล่วงหน้าหรือเรียนตามชั้นเรียนได้ง่ายขึ้น
2.3.1. Top Priorities
2.3.2. Medium Priorities
2.3.3. Low Priorities
2.4. ช่วยเหลือเด็กเรียนอ่อนให้ขวนขวายหาความรู้
2.4.1. Top Priorities
2.4.2. Medium Priorities
2.4.3. Low Priorities
2.5. ช่วยเหลือเด็กที่มีความสามารถแตกต่างกันให้ก้าวหน้าในการเรียนตามความสามารถของ ตนเอง
2.6. ช่วยให้เด็กสามารถหยุดและกรอกลับครูของตนเองได้
2.7. ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครูเพิ่มขึ้น
2.8. ช่วยให้ครูรู้จักนักเรียนดีขึ้น
2.9. ช่วยเพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกันเอง
2.10. ช่วยให้เห็นคุณค่าของความแตกต่าง
2.11. ช่วยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการห้องเรียน
2.12. ประสานความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง
2.13. ช่วยให้เกิดความโปร่งใสในการจัดการศึกษา
3. ความหมายและความเป็นมา
3.1. เรียนรู้จากการบ้านที่ได้รับผ่านการเรียนด้วยตนเองจากสื่อวิดีทัศน์นอกชั้นเรียนหรือที่บ้าน
3.2. ส่วนการเรียนในชั้นเรียนปกตินั้นจะเป็นการเรียนแบบสืบค้นหาความรู้ที่ได้รับร่วมกันกับเพื่อนร่วมชั้น โดยมี ครูเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือชี้แนะ
3.3. เกิดจากการจัดการเรียนการสอนนักเรียนระดับมัธยม ปลายที่โรงเรียน Woodland Park High School เมือง Woodland Park รัฐ Colorado สหรัฐอเมริกา โดย ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์สองคนชื่อ Jonathan Bergmann และ Aaron Sams
3.4. แนวคิดจากแบบเดิมที่ต้องเรียนเนื้อหาที่ โรงเรียนและนำงานกลับไปทำต่อที่บ้าน โดยให้เรียนเนื้อหาที่บ้านด้วยตนเอง แล้วนำงานหรือ ประสบการณ์ที่ได้รับมาทำการเรียนรู้เพิ่มเติมที่โรงเรียนร่วมกันกับเพื่อนต่อไป
4. ข้อเปรียบเทียบของการเรียนแบบเดิมกับการเรียนแบบกลับด้าน
4.1. จัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับ
4.1.1. มุ่งเน้น การสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเองผ่านสื่อเทคโนโลยี ICTแหล่งเรียนรู้นอกชั้นเรียนอย่างอิสระทั้งด้านความคิดและวิธีปฏิบัติ
4.2. การเรียนแบบเดิม
4.2.1. ครูจะเป็นผู้ป้อนความรู้ประสบการณ์ให้ผู้เรียนในลักษณะของครูเป็นศูนย์กลาง ( Teacher Center )
5. ตัวแบบ ( Model ) ของห้องเรียนแบบกลับด้าน
5.1. การกำหนดยุทธวิธีเพิ่มพูนประสบการณ์
5.1.1. Materials
5.1.2. Personnel
5.1.3. Services
5.1.4. Duration