ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. องค์ประกอบ

1.1. ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

1.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

1.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

2. ซอฟต์แวร์

2.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจ และจดจ าภาษาเครื่องได้ยาก ดังนั้นจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากโดยใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 ชุดค าสั่งมีลักษณะ เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ท าให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดค าสั่งง่ายขึ้นเนื่องจากภาษาระดับสูง ใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องมีอยู่2 ชนิด คือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์(Interpreter) o คอมไพเลอร์ จะท าการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง ก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ท างานตามภาษาเครื่องนั้น o อินเทอร์พรีเตอร์ จะท าการแปลทีละค าสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ท าตามค าสั่งนั้น เมื่อท าเสร็จแล้วจึง แปลค าสั่งล าดับต่อไป 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการ ท างาน(Non-Procedural) เพียงแต่สั่งว่าต้องการข้อมูลอะไร ก็สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ ตัวอย่าง ภาษายุคที่4 เช่น ชุดค าสั่งภาษาSQL (Structured Query Language) 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ซึ่งจะมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ (Object) โดยวัตถุจะประกอบด้วยข้อมูล(Data) และวิธีการ(Method) และจะมีคลาส(Class) เป็นตัวก าหนด คุณสมบัติของวัตถุ รวมทั้งความสามารถในการถ่ายทอดคุณสมบัติ(Inheritance) การEncapsulation และ การน ากลับมาใช้ใหม่ ภาษาเชิงวัตถุสามารถน ามาพัฒนาระบบงานที่มีความซับซ้อนได้เป็นอย่างดี ตัวอย่าง ภาษานี้เช่นVisual Basic, C++ และJAVA เป็นต้น

2.2. ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่

2.2.1. ระบบปฏิบัติการ

2.2.2. ตัวแปลภาษา

3. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

3.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

3.1.1. คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจนสามารถตอบสนองความ ต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบ ารุงรักษาต่ า การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์ส าเร็จรูปให้เลือกใช้งาน จ านวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ เช่น การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในวง การศึกษา มีโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจ านวนมากให้ผู้สนใจได้เลือกศึกษาตาม ความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้วท าให้เกิดความเข้าใจ มากขึ้น นอกจากนี้สถานศึกษายังสามารถน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น งานบุคคล งานการเงิน- บัญชี งานพัสดุงานประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

3.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

3.2.1. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน คือ 1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง เนื่องจาก เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง สามารถเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network) และระบบ WAN (Wide Area Network) 2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ 3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาด ใหญ่ ท าหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพง ต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ เช่น มีการควบคุมอุณหภูมิ เป็นต้น หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องค านึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. งบประมาณในการจัดซื้อ 2. ประเภทของงานที่น าคอมพิวเตอร์มาใช้ 3. สมรรถนะของเครื่อง 4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะพิจารณาในการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ รุ่นและ ความเร็วในการประมวลผลของ CPU ชนิดและขนาดของหน่วยความจ า RAM ขนาดของหน่วยความจ าแคช (Cache Lever 2) และขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบันเป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ ความเหมาะสมในการน ามาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือการเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้

3.2.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้ 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

4. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. หน่วยแสดงผล

4.1.1. เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เราเรียกเครื่องมือในส่วนนี้ว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภทตามลักษณะของข้อมูลที่แสดงออกมา ได้แก่ อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องไม่ได้(Softcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูล ที่มนุษย์ไม่สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรือข้อมูลเสียงจาก ล าโพง เรียกข้อมูลประเภทนี้ว่าSoftcopy อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องได้(Hardcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูลที่ มนุษย์สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เราเรียกข้อมูลประเภทนี้ ว่าHardcopy ตัวอย่างอุปกรณ์แสดงผล

4.1.1.1. 1) จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์ คือ เกิดจากคอมพิวเตอร์ส่ง สัญญาณให้เกิดการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังพื้นผิวของจอภาพ ซึ่งฉาบไว้ด้วยสารฟอสฟอรัสที่สามารถเรืองแสง ได้เมื่อโดนอิเล็กตรอนตกกระทบ แต่ความแตกต่างที่ส าคัญที่สุดระหว่างจอภาพกับจอโทรทัศน์ก็คือ คุณภาพ และความละเอียดของภาพที่ปรากฏขึ้นบนจอ โดยภาพบนจอภาพของคอมพิวเตอร์จะมีคุณภาพที่ดีกว่า ขนาด ความกว้างของจอภาพมีหลายขนาด ซึ่งก็จะมีความละเอียดในการแสดงผลมากน้อยไม่เท่ากัน โดยความ ละเอียดของภาพจะมีหน่วยวัดเป็นจุดภาพหรือที่เรียกว่า พิกเซล(Pixel) ในแนวตั้งและแนวนอนของจอภาพ เช่น640x480, 800x600, 1,024x768 และ1,280x1,024 เป็นต้น ยิ่งมีขนาดของพิกเซลมาก ขนาดของภาพจะ มีความละเอียดสูงมากขึ้น ภาพที่ปรากฏจะมีความสวยงามมากขึ้น และขนาดของภาพที่แสดงผลบนจอจะเล็ก ลงท าให้มีเนื้อที่ใช้งานบนจอมากขึ้นการท างานของจอภาพต้องใช้ร่วมกับแผงวงจรควบคุมจอภาพ(Graphic Adapter Card) หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า การ์ดแสดงผลซึ่งเป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่เสียบเข้าไปในเมนบอร์ด เพื่อท าหน้าที่เป็นตัวรับค าสั่งในการแสดงผลจากโปรแกรมต่างๆ แล้วแปลงสัญญาณนั้นเป็นสัญญาณที่จอภาพ เข้าใจได้ จากนั้นจึงส่งสัญญาณที่แปลงแล้วไปยังจอภาพ นอกจากนี้ยังมีจอภาพอีกประเภทที่มีลักษณะพิเศษ นั่นคือ จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen Monitor) ซึ่งเป็นจอภาพที่มีการส่งผ่านข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ อาศัยการสัมผัสที่จอภาพ ซึ่งมักท าเป็นลักษณะรายการ(Menu) ให้ผู้ใช้เลือก โดยที่ตัวผิวจอจะถูกปกคลุมด้วย แผ่นพลาสติกที่มีล าแสงอินฟาเรดซึ่งมนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ สัญญาณที่เกิดจากการสัมผัสกับล าแสงอิน ฟาเรดจะถูกส่งเข้าสู่ระบบเพื่อตีความหมายและประมวลผล จากนั้นจึงแสดงผลออกมาทางจอภาพเดียวกัน

4.1.1.2. 2) เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อสามารถน าไปใช้ในงานอื่นๆ ได้ เครื่องพิมพ์แบ่งออกได้เป็น3 ประเภท คือ เครื่องพิมพ์แบบจุด(Dot Matrix Printer) คือ เครื่องพิมพ์ที่อาศัยการใช้หัวเข็มไปกระแทกกระดาษ โดยผ่านผ้าหมึกท าให้เป็นจุดขึ้น ซึ่งมีลักษณะการท างานคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด คุณลักษณะเด่นของเครื่องพิมพ์ แบบนี้ คือ สามารถพิมพ์ลงบนกระดาษที่มีหลายส าเนาหลายชุดได้ ท าให้ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก(Ink Jet Printer) คือ เครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีพ่นน้ าหมึกลงไปบนวัตถุงาน โดย หมึกจะถูกฉีดออกจากรูขนาดเล็กบนหัวพิมพ์ คุณลักษณะเด่นของเครื่องพิมพ์แบบนี้ คือ สามารถพิมพ์ภาพสีได้ โดยมีตลับหมึกสีแยกอิสระ สามารถถอดเปลี่ยนใหม่ได้ คุณภาพการพิมพ์คมชัดกว่าแบบใช้หัวเข็ม ให้ความ ละเอียดสูง เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์(Laser Printer) มีหลักการท างานเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสาร เป็น เครื่องพิมพ์ที่พัฒนามาจากเครื่องพิมพ์แบบจุดและแบบพ่นหมึก สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบอื่นและมีความ คมชัดมากจึงได้รับความนิยมน ามาใช้งานในส านักงานทั่วไป

4.1.1.3. 3) พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บนกระดาษเช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ โดยพลอตเตอร์จะรับสัญญาณจากเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ควบคุมการเลื่อนปากกาไปบนกระดาษซึ่งสามารถเลือกสีหรือปากกาที่มีเส้นหนาบางได้

4.2. หน่วยรับข้อมูล

4.2.1. อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

4.3. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

4.3.1. แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยส่งค าสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จ านวนมาก ซึ่ง มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวน าไฟฟ้า เมื่อถูกกดจนติดกันก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัว วงจร เมื่อผู้ใช้กดแป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถูกเปรียบเทียบรหัส กับรหัสมาตรฐานของแต่ละแป้นที่กดเพื่อเปลี่ยนให้เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ไปแสดงบนจอภาพ

4.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

4.4.1. 1) เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ เมาส์แบบทางกล (Mechanical) และเมาส์แบบใช้เแสง(Optical)

4.5. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

4.5.1. อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกาแต่จะมีแสงที่ปลาย มักใช้ในงานเกี่ยวกับกราฟิกที่ต้องมี การวาดรูป การวาดแผนผังและคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ(Computer Aided Design : CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะช่วยให้ท างานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกาที่มีใช้งานอยู่แพร่หลาย

4.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

4.6.1. จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต าแหน่งที่ก าหนดไว้เพื่อเลือกการท างานที่ ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหาว่าผู้ใช้เลือกทางเลือกใดและท างานให้ตามนั้น

4.7. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

4.7.1. 1)เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader) การท างานของเครื่องใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องล าแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า แล้วแปลงรหัสที่อ่านได้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสาย ที่เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นนี้โดยเฉพาะน าไป ประมวลผล 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถน าเข้าข้อมูลที่เป็นรูปภาพหรือข้อความที่ อยู่บนสิ่งพิมพ์ได้โดยใช้หลักการสะท้อนแสง ข้อมูลที่รับเข้าจะเป็นรูปภาพที่ได้รับการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและตีความได้ การพิจารณาคุณภาพของสแกนเนอร์จะพิจารณาจากความ ละเอียดของภาพซึ่งมีหน่วยเป็นจุดต่อนิ้ว(dot per inch: dpi) ภาพที่มีจ านวนจุดต่อนิ้วมากจะมีความละเอียด สูงซึ่งจะเหมือนรูปจริงมาก

4.8. กล้องถ่ายภาพดิจิทัล

4.8.1. เป็นกล้องถ่ายภาพที่เก็บภาพเป็นข้อมูลดิจิตอลและ สามารถน าภาพที่เป็นข้อมูลดิจิตอลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้

4.9. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

4.9.1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์

4.10. หน่วยประมวลผลกลาง

4.10.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU)

4.10.1.1. ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน หน่วยนี้ท าหน้าที่คล้ายกับสมองคนซึ่งสามารถเปรียบเทียบการท างาน

4.10.2. หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU)

4.10.2.1. ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ การท างานของหน่วยนี้จะรับ ข้อมูลจากหน่วยความจ ามาไว้ในที่เก็บชั่วคราวของเอแอลยูซึ่งเรียกว่าregister เพื่อท าการค านวณแล้วส่งผล ลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจ า ทั้งนี้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ข้อมูลและค าสั่งจะอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลภายในเรียกว่าบัส(bus) ความเร็วของซีพียูถือ ได้ว่าเป็นปัจจัยส าคัญอย่างหนึ่งที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งองค์ประกอบที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพของซีพียูมี3 ส่วนหลักๆ คือ 1. สัญญาณนาฬิกาภายในซีพียู เป็นสัญญาณที่ให้จังหวะในการท างานภายในตัวซีพียูหรือจะกล่าว ได้ว่าเป็นความเร็วของซีพียูนั้นเอง 7 2. สัญญาณภายนอกซีพียู เป็นสัญญาณที่ให้จังหวะในการท างานแก่บัสที่ซีพียูใช้รับส่งข้อมูลกับ หน่วยความจ า โดยบัสที่เชื่อมต่อระหว่างซีพียูกับหน่วยความจ านี้จะเรียกว่า Front Side Bus (FSB) 3. หน่วยความจ าแคช(Cache memory) คือส่วนที่ท าหน้าที่เก็บข้อมูลหรือค าสั่งที่ซีพียูมักมีการ เรียกใช้งานบ่อยๆ เพื่อลดการท างานระหว่างซีพียูกับหน่วยความจ าหลัก หน่วยความจ าแคช ในปัจจุบันมี ความเร็วเท่ากับความเร็วของซีพียูและบรรจุอยู่ภายในซีพียู มีอยู่2 ระดับ คือแคชระดับ1(L1 cache) และ แคช ระดับ2 (L2 cache)

4.10.3. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket)

4.10.3.1. ของซีพียู สามารถแบ่งเป็น 4 แบบ 1) แบบตลับ(Cartridge) ใช้ส าหรับเสียบลงในช่องเสียบบนเมนบอร์ดที่เรียกว่าสล็อต(Slot) ซึ่ง ซีพียูแต่ละค่ายจะใช้Slot ไม่เหมือนกัน ในปัจจุบันได้เลิกผลิตแล้ว เช่น ซีพียูของIntel รุ่นPentium II และซีพียู ของAMD รุ่นK7 เป็นต้น 2) แบบBGA (Ball Grid Array) จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ ที่ด้านหนึ่งจะมีวัตถุทรงกลมน า ไฟฟ้าขนาดเล็กเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบท าหน้าที่เป็นขาของชิป เวลาน าไปใช้งานส่วนมากมักจะต้องบัดกรี ยึดจุดสัมผัสต่างๆ ติดกับเมนบอร์ดเลย จึงมักน าไปใช้ท าเป็นชิปที่อยู่บนเมนบอร์ดซึ่งเปลี่ยนแปลงไม่ได้ เช่น ชิป เซ็ตและชิปหน่วยความจ า เป็นต้น 3) แบบPGA (Pin Grid Array) จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ ที่ด้านหนึ่งจะมีขาจ านวนมากยื่น ออกมาจากตัวชิป เป็นแบบที่นิยมใช้กันมานาน ขาจ านวนมากเหล่านี้จะใช้เสียบลงบนฐานรองที่อยู่บน เมนบอร์ด ซึ่งเอาไว้ส าหรับเสียบซีพียูแบบPGA นี้โดยเฉพาะ โดยsocket นี้มีหลายแบบ ส าหรับซีพียูแตกต่าง กันไปเสียบข้ามsocket กันไม่ได้ เพราะมีจ านวนช่องที่ใช้เสียบขาซีพียูแตกต่างกัน 4) แบบLGA (Land Grid Array) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่Intel น ามาใช้กับซีพียูรุ่นใหม่ๆ ลักษณะจะ เป็นแผ่นแบนๆ ที่ด้านหนึ่งจะมีแผ่นตัวน าวงกลมแบนเรียบขนาดเล็กจ านวนมากเรียงตัวกันอยู่อย่างเป็น ระเบียบ ท าหน้าที่เป็นขาของชิป ซีพียูที่ใช้บรรจุภัณฑ์แบบนี้จะถูกติดตั้งลงบนฐานรองหรือSocket แบบ Socket T หรือชื่อทางการคือLGA 775 โดยSocket แบบนี้จะไม่มีช่องส าหรับเสียบขาซีพียูเหมือนกับแบบPGA แต่จะมีขาเล็กๆจ านวนมาก ยื่นขึ้นมาจากฐานรอง

4.10.4. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)

4.10.4.1. เป็นสารชนิดหนึ่งที่ท ามาจากซิลิโคนผสมกับสารน าความร้อนบางชนิด เช่น Zinc Oxide ซึ่งมี คุณสมบัติเป็นตัวกลางในการน าพาความร้อนได้ดี มักใช้ทาฉาบไว้บางๆ เพื่อไม่ให้มีช่องว่างระหว่างซีพียูกับ Heat Sink และท าหน้าที่ช่วยในการถ่ายเทความร้อนจากซีพียูไปสู่Heat Sink ได้ดียิ่งขึ้น

4.10.5. หน่วยความจ า

4.10.5.1. รีจิสเตอร์(Register) เป็นหน่วยความจ าที่มีความจุน้อยสุด มีความเร็วสูงสุด และมีราคาแพงสุด โดยถูกสร้างเป็น ส่วนหนึ่งของชิปหน่วยประมวลผลกลาง ใช้เก็บข้อมูลเข้าและผลลัพธ์ตามที่ระบุไว้ในแต่ละค าสั่งของชุดค าสั่ง ของหน่วยประมวลผลกลาง ตัวอย่างเช่น รีจิสเตอร์ที่ใช้เก็บต าแหน่งต่างๆ ของหน่วยความจ า(address registers) รีจิสเตอร์ที่ใช้เก็บค่าคงที่(constant registers) ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว

4.10.5.1.1. แคช(Cache) แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจ าที่ท างานได้เร็วทีสุด ท าหน้าที่เก็บส าเนาข้อมูลบางส่วน ในหน่วยความจ าหลักเอาไว้ เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น ช่วยให้สามารถใส่Cache เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ ชิพโปรเซสเซอร์ได้ ซึ่งเรียกว่าon-chip cache

4.10.6. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

4.10.6.1. เป็นหน่วยความจ าที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง แม้จะ ปิดเครื่องไปแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม นิยมใช้เป็นหน่วยความจ าส าหรับเก็บ ชุดค าสั่งในการเริ่มต้นระบบหรือชุดค าสั่งที่ส าคัญๆ ของคอมพิวเตอร์ ข้อเสียของรอมคือจะไม่สามารถแก้ไข หรือเพิ่มเติมชุดค าสั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งความเร็วในการท างานช้ากว่าหน่วยความจ าแบบแรม

4.10.7. หน่วยความจ าส ารอง

4.10.7.1. 1) ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) ท ามาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่าPlatters ท าให้เก็บข้อมูลได้มากและ ท างานได้รวดเร็ว ส่วนมากจะถูกยึดติดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีบางรุ่นที่เป็นแบบเคลื่อนย้ายได้ โดย จะเป็นแผ่นแม่เหล็กเพียงแผ่นเดียวอยู่ในกล่องพลาสติกบางๆ สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่1กิกะไบต์ขึ้นไป A. ชนิดของHard Disk แบ่งตามการเชื่อมต่อ (Interface) I. แบบIDE (Integrate Drive Electronics) เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่าที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้ สายแพขนาด40 เส้น โดยสายแพ1 เส้นสามารถที่จะต่อHard Disk ได้2 ตัวบนเมนบอร์ดนั้นจะมีขั้วต่อIDE อยู่ 2 ขั้วด้วยกัน ท าให้สามารถพ่วงต่อHard Disk ได้สูงสุด4 ตัว ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่8.3 เมกะ ไบต์/ วินาทีส าหรับขนาดความจุเพียงแค่504 MB