โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร by Mind Map: โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

1. จุดประสงค์

1.1. เพื่อสรรเสริญเกียรติคุณของกษัตริย์ไทยในสมัยอยุธยาเเละรัตนโกสินทร์

1.2. เพื่อเชิดชูเกียรติหมู่เสวกมาตย์

1.2.1. กล้าหาญ

1.2.2. สุจริต

1.2.3. กตัญญู

1.3. เพื่อผดุงช่างฝีมือสยาม

1.4. เพื่อเป็นการรักษาบทประพันธ์ที่สำคัญของไทย

1.4.1. โคลง

1.4.2. ฉันท์

1.4.3. กาพย์

1.4.4. กลอน

2. พระสุริโยทัยขาดคอช้าง

2.1. ผู้เเต่ง

2.1.1. สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕

2.1.1.1. พระราชประวัติโดยสังเขป

2.1.1.1.1. เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ ๕ เเห่งราชวงศ์จักรี

2.1.1.1.2. พระราชสมภพเมื่อ วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๓๙๕

2.1.1.1.3. เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑

2.1.1.1.4. ทรงอยู่ในราชสมบัติ ๔๒ ปี

2.1.1.1.5. เสด็จสวรรคตเมื่อ ๒๓​ ตุลาคม ๒๔๕๓

2.1.1.2. ผลงานพระราชนิพนธ์ที่สำคัญ

2.1.1.2.1. พระราชพิธีสิบสองเดือน

2.1.1.2.2. ไกลบ้าน

2.1.1.2.3. เงาะป่า

2.1.1.2.4. ลิลิตนิทราชาคริต

2.1.1.2.5. รามเกียรติ์

2.1.1.2.6. โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

2.1.1.2.7. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

2.1.1.2.8. อื่นๆ

2.2. ลักษณะคำประพันธ์

2.2.1. โคลงสี่สุภาพ ๖ บท

2.3. จุดประสงค์ในการเเต่ง

2.3.1. สรรเสริญเกียรติคุณสมเด็จพระสุริโยทัยที่มีต่อพระมหาจักรพรรดิเเละเเผ่นดินไทย

2.4. กฏเเละข้อบังคับ

2.4.1. ๑ บทมี ๔ บาท เขียนบาทละ ๒ วรรค

2.4.1.1. วรรหน้ามี ๕ พยางค์

2.4.1.2. วรรคหลังมี ๒ พยางค์

2.4.1.3. วรรคหลังของบาทที่ ๑ เเละ ๓ มีคำสร้อยได้อีก ๒​ พยางค์

2.4.1.4. บาทที่ ๔ ​วรรคหลังมี ๔ พยางค์

2.4.2. ๑ บทมี ๓ คำ ไม่นับคำสร้อย

2.4.3. มีสัมผัสบังคับตามเเบบเเผน

2.4.4. บังคับใช้คำเอก ๗ เเห่ง คำโท ๔ เเห่ง

2.4.5. สามารถใช้คำตายเเทนคำเอกได้

2.5. ที่มาของเรื่อง

2.5.1. โคลงประกอบรูปที่ ๑๐ แผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้างภาพนี้ประทับอยู่ ณ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน

3. ทรงเลือกสรรเรื่องในพระราชพงศาวดารให้ช่างเขียนภาพ เเละเขียนโครงบอกเรื่อง

3.1. มีภาพเขียนทั้งสิ้น ๙๒ ภาพ

3.2. รวมโคลงทั้งสิ้น ๑๗๖ บท

4. ประวัติความเป็นมา

4.1. เป็นพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕

4.2. สร้างเสร็จเมื่อปี ๒๔๓๐

5. พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต

5.1. ผู้เเต่ง

5.1.1. พระราชประวัติโดยสังเขป

5.1.1.1. พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรรณากร

5.1.1.2. สามารถนิพนธ์ได้หลายชนิด

5.1.1.2.1. โคลง

5.1.1.2.2. ฉันท์

5.1.1.2.3. กาพย์

5.1.1.2.4. กลอน

5.1.1.2.5. นิพนธ์เองเเล้วเเปลเป็นภาษาอังกฤษ

5.1.1.3. บทนิพนธ์

5.1.1.3.1. สารคดี

5.1.1.3.2. บันเทิงคดี

5.1.1.3.3. เรื่องสั้น

5.1.1.4. ได้รับพระนามว่า “พระบรมครูเเห่งละครร้อง”

5.1.2. ผลงานพระนิพนธ์ที่สำคัญ

5.1.2.1. จดหมายเหตุลาลูเเบร์

5.1.2.2. รุไบยาต

5.1.2.3. นรางกุโรวาท ตำนานพระเเท่นมนังศิลาบาท

5.1.2.4. สร้อยคอที่หาย

5.2. ลักษณะคำประพันธ์

5.2.1. โคลงสี่สุภาพ ๔ บท

5.3. จุดประสงค์ในการเเต่ง

5.3.1. สรรเสริญวีรกรรมของพันท้ายนรสิงห์

5.3.2. ปลุกสำนึกเยาวชนให้เห็นตัวอย่างราชการ

5.3.2.1. ความรับผิดชอบสูง

5.3.2.2. สละชีพเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฏหมายไว้

5.4. ที่มาของเรื่อง

5.4.1. โคลงประกอบรูปที่ ๔๒ แผ่นดินพระเจ้าเสือ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต เขียนโดยนายทอง (พระวรรณวาดวิจิตร) ได้รางวัลที่ ๑๑

5.5. ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง

5.5.1. การเป็นข้าราชการต้องมีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์

5.5.2. เป็นผู้มีความรับผิดชอบสูง เเละมีความซื้อสัตย์ย่อมเป็นที่สรรเสริญของคนทั่วไป

5.5.3. กฏต้องเป็นไปตามกฏ เพื่อความเรียบร้อยของบ้านเมือง

5.5.4. ปลุกสำนึกให้เยาวชนเห็นคุณค่าของประโยชน์ของส่วนรวมอย่างเห็นได้ชัด

5.5.5. ผู้ที่ทำหน้าที่ด้วยความเอาใจใส่อย่างเต็มความสามารถ เมื่อมีข้อบกพร่องเกิดขึ้น จะได้รับความเห็นใจ เเละการให้อภัยจากผู้อื่น