เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม by Mind Map: เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม

1. ลักษณะของเทคโนโลยี

1.1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process)

1.2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product)

1.3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product)

2. ความหมาย เทคโนโลยี

2.1. คำว่า เทคโนโลยี ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) หมายถึง “วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม”

2.2. เทคโนโลยี หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกล สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทางอุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู้

2.3. เทคโนโลยี หมายถึง ความรู้หรือศาสตร์ที่เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่นๆ ที่จะเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์

2.4. เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ

3. ความหมายวิทยาศาสตร์

3.1. "ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐบาลพม่า 2525 ได้รับความรู้ความเข้าใจว่า" วิทยาศาสตร์คือความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลที่ได้รับการค้นคว้า จัดเข้าเป็นระเบียบ”

3.2. เทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ กล่าวโดยสรุปได้ว่า ตัวความรู้คือวิทยาศาสตร์ แต่การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น การต่อเรือ เครื่องบิน ยานอวกาศ ดาวเทียม เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์เรียกว่า เทคโนโลยี

4. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม

4.1. กระบวนการเทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ

4.1.1. 1. เครื่องมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เครื่องบำบัดน้ำเสีย เครื่องปรับอากาศ เครื่องบิน เป็นต้น

4.1.2. 2.วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร วิธีประเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

5. ความหมาย สิ่งแวดล้อม

5.1. สิ่งแวดล้อม คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งที่เป็นรูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (ตัวอย่างเช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งจะมีส่วนเสริมสร้างหรือทำลายอีกส่วนหนึ่ง อย่างหลีกเลี่ยงมิได้ สิ่งแวดล้อมเป็นวงจร และวัฏจักรที่เกี่ยวข้องกันไปทั้งระบบ

6. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับสิ่งแวดล้อม

6.1. 1. เทคโนโลยีจากพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีความสะอาดปราศจากการก่อมลพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม มีปริมาณมากมายมหาศาลและไม่มีหมดสิ้น จึงมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้แทนพลังงานอื่นๆ

6.1.1. 1) เทคโนโลยีผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ

6.1.2. 2) เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ผลิตความร้อน

6.2. 2. เทคโนโลยีจากพลังงานลมเป็นพลังงานธรรมชาติ ที่สะอาด บริสุทธิ์

7. ผลกระทบของเทคโนโลยีมีทั้งด้านดีและด้านเสีย หรือทางบวกและทางลบ

7.1. ผลกระทบในทางบวก

7.1.1. 1. ช่วยส่งเสริมงานค้นคว้าด้านเทคโนโลยี

7.1.2. 2. ช่วยส่งเสริมด้านความสะดวกสบายของมนุษย์

7.1.3. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์

7.2. ผลกระทบในทางลบ

7.2.1. ทำให้เกิดอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

7.2.2. ทำให้เสียสุขภาพ