การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)

1. พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ (delay development)

2. การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติ หรือปัญญาอ่อน (mental retardation)

3. กลไกการเกิด

3.1. ภายในกะโหลกศีรษะประกอบด้วยอวัยวะสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ เนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและเลือด ดังนั้นความดันในกะโหลกศีรษะจึงเกิดผลรวมจากส่วนประกอบทั้ง 3 นั้นเอง เมื่อมีความดันหรือปริมาตรของส่วนประกอบในส่วนใดทั้ง 3 ส่วนนั้นเพิ่มขึ้นหรือลดลง ส่วนประกอบที่เหลือจะมีการปรับตัวเพื่อให้ความดันอยู่ในภาวะที่สมดุล จะทำให้ทีความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น ซึ่งผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูงที่มีสาเหตุจากน้ำไขสันหลังเพิ่มขึ้นกะโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่มีปริมาตรคงที่จำกัด หากมีปริมาตรของส่วนใดส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น กลไกการตอบสนองของสมองหรือกลไกการปรับตัวเองของสมอง (autoregulation) จะทำงาน

4. อาการและอาการแสดง

4.1. ปวดศีรษะมาก

4.2. ตาทั้ง 2 ข้างกลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้ทําให้เห็นตาขาวเหนือตาดํามากกว่าปกติ

4.3. ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน (diplopia)

4.4. รีเฟล็กซ์ และ tone ของขา 2 ข้างไวกว่าปกติ (hyperactive reflex)

4.5. มีอาการและอาการแสดงของความผิดปกติทางระบบประสาท

4.6. สัญญาณชีพผิดปกติ

4.7. กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรืออัมพาตครึ่งซีก

5. การรักษา

5.1. การรักษาด้วยยา

5.2. การเจาะน้ำไขสันหลัง (umbar puncture) ร่วมกับการให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลังการเจาะ

5.3. การผ่าตัด

5.3.1. สังเกตลักษณะการหายใจ,ฟังเสียงหายใจ,เสียงเสมหะ หากมีเสมหะมากให้ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง และในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ

6. การพยาบาล

6.1. สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและอาการทางสมอง ควรทำทุก 10-15 นาทีในช่วงวิกฤตและเมื่ออาการคงที่สามารถทำได้ทุก 1 ชม.

6.2. การจัดท่านอน จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงประมาณ 30 องศา

6.3. สังเกตอาการของภาวะความดันในกะโหลก ศีรษะสูง

6.3.1. ดูแลให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาของแพทย์

6.4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา

6.5. ดูเเลป้องกันอันตรายที่เกิดจากอาการชัก

7. การวินิจฉัย

7.1. การซักประวัติ บิดามารดา

7.2. การตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็ก

7.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ

8. ติดตามและสังเกตค่าความดันในกะโหลกศีรษะอย่างใกล้ชิด

9. ความหมาย

9.1. ความดันในกะโหลกศรีษะสูง

9.2. เป็นภาวะวิกฤติของผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท ศัลยศาสตร์ส่งผลให้ผู้ป่วยอาจเกิดความพิการหรืออาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

9.3. ความดันในโพรงกะโหลกศีรษะซึ่งภายในโพรงกะโหลกศีรษะประกอบด้วยสมอง (Brain) และน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง

10. สาเหตุ

10.1. การเพิ่มปริมาตรของเลือด (Increased blood volume)

10.1.1. การเพิ่มปริมาตรของเนื้อสมอง (Increased braintissuevolume: mass effect)

10.2. ความผิดปกติของปริมาตรน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง(Increasedcerebrospinalfluidvolume)

11. ภาวะแทรกซ้อน

11.1. ของโรค

11.1.1. เกิดภาวะสมองขาดออกซิเจน

11.1.2. มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

11.1.3. ภาวะสมองเคลื่อน (brain herniation)

11.2. ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดภายหลังการใส่ shunt

11.2.1. การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (shunt infection)

11.2.2. การทํางานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (shunt malfunction)

11.2.3. การอุดตันของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (shunt obstruction)

11.2.4. ภาวะโพรงสมองตีบแคบ (slit ventricle)

11.2.5. ภาวะเลือดออกในศีรษะเนื่องจากการผ่าตัด ทําให้เกิดเลือดออกในโพรงสมอง (intraventricular hemorrhage) หรือเลือดออกในเนื้อสมอง (intracerebral hemorrhage)

11.2.6. เกิดแผลเป็นที่สมอง (scar)

12. การป้องกัน

12.1. หลีกเลี่ยงหรือจัดการกับสาเหตุที่อาจทำให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง

13. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

13.1. มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง(IICP)