การเมืองการปกครองไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเมืองการปกครองไทย by Mind Map: การเมืองการปกครองไทย

1. รูปแบบการปกครองแบบเผด็จการ

1.1. ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์

1.2. เผด็จการเบ็ดเสร็จ

1.3. เผด็จการนิยม

1.4. ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์

2. รวมอำนาจการปกครองไว้ในที่แห่งเดียว

3. หลักการสำคัญของการปกครองระบอบเผด็จการ

3.1. อำนาจรัฐอยู่เหนือประชาชน

3.2. แก้ปัญหาโดยการใช้อำนาจ

3.3. เน้นการเชื่อผู้นำพาชาติก้าวหน้า

4. มุ่งเน้นประโยชน์ของภาครัฐมากกว่าสิทธิของประชาชน

5. ประชาชนต้องให้ความสำคัญต่อการตรวจสอบและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทุจริต

6. การปกครองระบอบเผด็จการ

6.1. ข้อดีของการปกครองระบอบเผด็จการ

6.1.1. รัฐบาลสามารถแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว

6.1.2. รัฐบาลแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนจำนวนมากได้ดี

6.1.3. ประชากรในประเทศเกิดวินัยในสังคมมากขึ้น

6.2. ข้อจำกัดของการปกครองระบอบเผด็จการ

6.2.1. ประชาชนไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น

6.2.2. ประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ

6.2.3. การดำเนินกิจกรรมต่างๆเป็นไปตามนโยบายของพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว

7. แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการเมือง

7.1. นักการเมืองต้องมีคุณธรรมจริยธรรมถือประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว

7.2. ประชาชนต้องมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

7.3. ประชาชนต้องเคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น

7.4. หน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องให้ความรู้และสร้างความตระหนักในคุณค่าของระบอบประชาธิปไตย

8. ปัญหาคุณธรรมจริยธรรมของนักการเมือง

9. การปกครองระบอบประชาธิปไตย

9.1. หลักการสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

9.1.1. หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน

9.1.2. หลักอำนาจอธิปไตยโดยปวงชน

9.1.3. หลักอำนาจอธิปไตยเพื่อปวงชน

9.1.4. หลักเหตุผล

9.1.5. หลักเสียงข้างมาก

9.1.6. หลักความยินยอม

9.1.7. หลักประนีประนอม

9.1.8. หลักความเสมอภาค

9.1.9. หลักเสรีภาพ

9.1.10. หลักการปกครองตนเอง

9.2. รูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

9.2.1. หลักประมุขของประเทศ

9.2.1.1. มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

9.2.1.2. มีประธานาธิบดีเป็นประมุข

9.2.2. หลักการรวมและการแยกอำนาจ

9.2.2.1. แบบรัฐสภา

9.2.2.2. แบบประธานาธิบดี

9.2.2.3. แบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี

9.2.3. แบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี

9.3. ข้อดีของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

9.3.1. เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ

9.3.2. กลั่นกรองความคิดเห็นแต่ละฝ่าย แต่ละคนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี

9.3.3. เป็นระบอบที่มีการแยกอำนาจออกจากกันอย่างชัดเจน

9.3.4. เป็นระบอบป้องกันการผูกขาด

9.3.5. มีระบอบการประกันสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคแก่ประชาชน

9.3.6. ประเทศมีความเจริญมั่นคง

9.4. ข้อจำกัดของการปกครองระบอบของประชาธิปไตย

9.4.1. ประชาชนที่ขาดความรู้ความเข้าใจจะตกเป็นเครื่องมือของนายทุนได้ง่าย

9.4.2. มีการหาเสียงโดยไม่สุจริต

9.4.3. สูญเสียงบประมาณของรัฐอย่างมาก

9.4.4. ใช้อุบายกลโกงทุกรูปแบบในการหาเสียงและโจมตีนักการเมืองฝ่ายตรงข้าม

9.4.5. มีความล่าช้าในการตัดสินใจ

10. ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ

10.1. ปัญหาความคิดเห็นทางการเมืองของคนไทยแตกต่างกัน

10.2. ปัญหาความอ่อนแอของฝ่ายบริหาร

10.3. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบพรรคการเมืองมีจำนวนมากเกินไป