1. สาเหตุ และทฤษฎีการเกิดโรค
1.1. เป็นภาวะที่ไตลดการทำหน้าที่ไปเรื่อยๆ และไม่สามารถกลับคืนเป็นปกติได้ เนื่องจากไตถูกทำลายอย่างถาวร อาจใช้เวลานานหลายปี ระยะสุดท้ายของไตวายเรื้อรังเรียกว่า End-stage renal disease (ESRD)
1.2. Gout เป็นโรคข้ออักเสบชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในเพศชาย
1.2.1. แกอเกิดจากความผิดปกติที่ไต เช่น มีอาการอักเสบที่ไต จากโรคต่างๆ เช่น SLE, Scleroderma, Polyarteritis nodosa เบาหวาน Hypertension นิ่วในไต และอาจเกิดจากการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ เช่น เนื้องอกของต่อมลูกหมากและกระเพาะปัสสาวะ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ถ่ายปัสสาวะไม่ออกเนื่องจากมีการอุดตันในหลอดปัสสาวะ (Urethral Obstruction)
1.2.2. Hyperuricemai
1.2.2.1. เกิดการตกผลึกของกรดยูริก
1.2.2.1.1. นิ่วในไต
1.2.2.1.2. อุดกั้นการกรองปัสสาวะ
1.3. Hypertension
1.3.1. Glomerular capilary
1.3.1.1. Glomerulay hypersion
1.3.2. Glomeruli
1.3.2.1. proteinรั่ว (protein 3+)
1.3.2.2. เกิดอันตรายต่อ endothelialcell เพิ่มขึ้น
1.3.2.2.1. cytokines+soluble mediater อื่นๆ จากระบบภูมิคุ้มกัน
1.3.2.2.2. Oxpurines, Hypoxanthune, xanthine ไม่ถูกเปลี่ยนเป็นกรดยูริก
1.3.2.2.3. Amlodipin 10 g 1*1 oral pc.
2. ประเด็นปัญหา และภาวะแทรกซ้อน
2.1. Hypertension
2.1.1. แพทย์ให้การรักษา
2.1.1.1. Hydralazin 25 g 2 tab oral stat
2.1.1.2. Hydralazin 25 g 1*4 oral pc.
2.1.1.3. Furosemide 40 g 1*1 pc.
2.2. Anemia ซีด
2.2.1. ไตสูญเสียหน้าที่
2.2.1.1. Erythropoietin ลดลง
2.2.1.1.1. ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงได้น้อย
2.2.2. การวินิจฉัยหาภาวะเลือดจาง
2.2.2.1. Fe3+ 134 HI (1-100)
2.2.2.2. Ferritin 1156 HI (20-300)
2.2.2.3. UIBC 88 LO (191-269)
2.2.2.4. TIBC 222 LO (256-426)
2.2.2.5. Tranferrin 1.65 LO (1.74-3.82)
2.3. Uremia
2.4. ปัสสาวะออกน้อย(Oliguria or Anuria)
2.4.1. Furosemide 40 g 1*1 pc.
2.5. Hyperkelemia
2.5.1. แพทย์ให้การรักษา
2.5.1.1. kalimate 30 gm+water 50 ml oral
2.5.1.2. Sodamint 2*3 oral pc.
2.6. ง่วงนอนง่าย
2.7. คลื่นไส้
2.8. บวม
2.8.1. Furosemide 40 g 1*1 pc.
2.9. เบื่ออาหาร
2.10. เหนื่อยอ่อนเพลีย
2.11. วิงเวียนศีรษะ
2.12. ความสมดุลของสารน้ำ และ อิเล็กโตรไลค์
2.12.1. ให้ 0.9% NSS 1000 ml. iv 40 ml/hr.
2.13. Gout
2.13.1. แพทย์ให้การรักษา
2.13.1.1. Allopurinal 100 1*1 ora pc.
3. การพยาบาล
3.1. 1.ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่อนเพลียมาก ปวดศีรษะ ซึม กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
3.2. 2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการลดลงของสารเหลวในร่างกาย
3.3. 3.สังเกตอาการของภาวะโซเดียมในกระแสเลือดต่ำ ภาวะโปตัสเซียมในกระแสเลือดต่ำ ภาวะกรดยูริคในกระแสเลือดสูงและภาวะน้ำตาลในกระแสเลือดสูง
3.4. 4.ใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่ไตเสื่อมหน้าที่ นอก จากนี้ยังมีภาวะอื่น ๆ ซึ่งเป็นผลกระทบจากไตล้มเหลวระยะสุดท้าย เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน คันตามผิวหนัง เป็นต้น อาจจำเป็นต้องให้ยาแก้ไขภาวะต่าง ๆ ตามอาการที่เกิดขึ้น
4. อาการที่เข้าข่ายว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการไตวาย
4.1. รู้สึกเหนื่อยง่าย
4.2. ปัสสาวะน้อยลง
4.3. มีอาการบวมที่ขาหรือเท้า
4.4. ผิวหนังมีรอยช้ำง่ายกว่าปกติหรือมีเลือดไหลออกง่ายกว่าปกติ
5. แบบแผนสุขภาพที่สัมพันธ์กับโรค
5.1. การขับถ่าย: ปัสสาวะแสบขัด ออกน้อย มีอาการท้องผูกบ่อยครั้ง
6. อาการที่ผู้ป่วยนำมา ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ
6.1. 3 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีเหนื่อยอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ บวมทั้งตัว BP. 178/59 mmHg
6.2. Lymphocyte 1.5% LO, RBC 2.60 M/uL LO, HGB 6.6 g/dL LO, HCT 18.9% LO, MCV 72.7 fL LO, RDW 16.3% HI, Sodium 133 LO, Total CO2 17 LO, BUN 117 HI, Creatinine 16.61 HI, GFR 2.7 LO, Potassium 6.0 HI
7. การวินิจฉัยโรค
7.1. การตรวจปัสสาวะ
7.1.1. Blood 3+
7.2. การตรวจเลือด
7.2.1. BUN 117 HI
7.2.2. Cr 16.61 HI
7.2.3. GFR 2.7 LO
7.2.4. protein 3+
7.3. การตรวจอัลตราซาวด์ (Ultrasound)
8. การรักษา
8.1. การฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)
8.1.1. การต่อหลอดเลือดแดง และดำ [arteriovenous [ A-V] fistular
8.2. การฟอกไตทางช่องท้อง Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD)
9. คำแนะนำการฟอกไตเทียม
9.1. ก่อน
9.1.1. ควรงดรับประทานยาลดความดันโลหิตก่อนฟอก 4-6 ชั่วโมง
9.1.2. ถ้ามีการเสียเลือดมาก เช่นมีประจำเดือน อุจาระดำ อาเจียนเป็นเลือด ให้แจ้งแพทย์ก่อนฟอกเลือดทุกครั้ง
9.2. ขณะ
9.2.1. แขนข้างที่กำลังฟอกให้อยู่นิ่งๆ
9.2.2. เตรียมอาหารมารับประทานขณะฟอกเลือด
9.2.3. ถ้ามีอาการเวียนศีรษะ ใจสั่น ขณะฟอกให้แจ้งพยาบาลผู้ดูแลทันที
9.3. หลัง
9.3.1. หลังการฟอกเลือดใหม่จะมีการห้ามเลือดโดยใช้พลาสเตอร์หรือผ้ากอซปิดเมื่อเลือดหยุดจึงเอาผ้าก๊อซออกและติดพลาสเตอร์
9.3.2. รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
9.3.3. รับประทานอาหารตามคำแนะนำ
9.3.3.1. ให้รับประทานโปรตีนจากเนื้อปลาแทนจากถั่วและผัก
9.3.3.2. เลือกอาหารที่มีโพแทสเซียมไม่สูงไม่ต่ำเนื่องจากสูงหรือต่ำไปจะทำให้เกิดผลเสียต่อหัวใจ
9.3.3.3. จำกัดน้ำดื่มมิให้น้ำหนักเพิ่มเกินวันละ 0.5 กิโลกรัม
9.3.3.4. งดอาหารเค็ม
9.3.3.5. งดอาหารที่มี phosphate สูง
9.3.4. ชั่งน้ำหนักทุกวันโดยควบคุมมิให้น้ำหนักเพิ่มเกินวันละ 0.5 กก.
9.3.5. หลังการฟอกเลือดให้ระวังการถูกกระแทกแรงๆเพราะจะทำให้เกิดช้ำได้