1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
1.1. ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด(Sepsis)เป็นกลุ่มอาการที่เป็น ผลจากการที่เนื้อเยื่อหรือเซลล์(ถูกทำาลาย และได้รับบาดเจ็บอย่าง ต่อเนื่อง เป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำาคัญเพราะมีอัตราตายสูง หาก ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็ว
1.2. ในผู้ป่วยรายที่ 2(Orem,D.E.2001)ที่มุ่งเน้นการประเมินปัจจัยพื้นฐานของการดูแลตนเองในอดีตที่ผ่านมา ในผู้ป่วยรายนี้ปกติแข็งแรงดีช่วยเหลือตนเองได้ตามอัตภาพของผู้สูงอายุเมื่อมีภาวะเบี่ยงเบนทางด้านสุขภาพ จากความเจ็บป่วยความสามารถในการดูแลตนเองน้อยลงพยาบาลได้มีการประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย และผู้ดูแลว่ามีศักยภาพเพียงพอที่จะตอบสนองต่อความต้องการการดูแลตามสภาพของความเจ็บป่วยได้หรือไม่
2. ผลการศึกษา
2.1. ระบบการพยาบาลผู้ป่วยในระยะวิกฤตทั้ง 2 ราย
2.1.1. ในผู้ป่วยรายที่ 1 ที่เลือกใช้แบบแผนสุขภาพตามทฤษฎี ทางการพยาบาลของกอร์ดอนเนื่องจากเป็นผู้ป่วยอายุน้อย มีการ เปลี่ยนแปลงแผนการดำเนินชีวิตที่รวดเร็วจากภาวะการเจ็บป่วย ผู้ ป่วยยอมรับได้ยากในการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีการนำาทฤษฎีมาใช้ ร่วมกับกระบวนการพยาบาลทำาให้มองเห็นปัญหาสำคัญได้ชัดเจน สามารถช่วยเหลือและแก้ไขได้ทันเวลาผู้ป่วยปลอดภัย
2.1.2. ในผู้ป่วยรายที่2 ที่ใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเร็ม เนื่องจากเป็นผู้สูงอายุ ที่มีการดำาเนินชีวิตตามอัตภาพมานานเมื่อเกิดภาวะวิกฤตมี ผลกระทบทางด้านจิตใจมากเพราะกลัวว่าจะเป็นภาระกับผู้ดูแล
3. ผลการศึกษา พบข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและให้การพยาบาลดังต่อไปนี้
3.1. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (ผู้ป่วยรายที่ 1 และรายที่ 2 )
3.2. จึงได้มีการนำาทฤษฎีทางการพยาบาล 2 ทฤษฎีมาประยุกต(ใช้ ในการดูแลผู้ป่วยให้สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วยแต่ละรายดังนี้ แนวคิดและแบบแผนสุขภาพตามทฤษฎีทางการพยาบาลของกอร์ ดอน ในผู้ป่วยรายที่ 1 นี้เป็นผู้ป่วยอายุน้อยที่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิตที่รุนแรงจนแบบแผนการดำาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เมื่อนำมาใช้ แล้วทำให้มองเห็นปัญหาสำคัญสามารถให้ความช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพและภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
3.3. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2. ผู้ป่วยมีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด( ผู้ป่วยราย 1 )
3.4. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่3. ผู้ป่วยมีภาวะระบบหายใจล้มเหลว(ผู้ป่วยรายที่ 1 และรายที่ 2 )
3.5. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4. ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ(ผู้ป่วยรายที่ 1 และรายที่ 2 )
3.6. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 ผู้วยมีภาวะไตวายเฉียบพลันมีการ เปลี่ยนแปลงของปริมาตรสารน้ำในร่างกาย( ผู้ป่วยราย 1 )
3.7. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่6ผูป่วยมีภาวะติดเชื้อในปอด( ผูป่วยราย 2 )
3.8. ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 7 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มจากมี การสอดใส่อุปกรณ์เข้าไปในร่างกาย(ผู้ป่วยรายที่ 1 และรายที่ 2 )
3.9. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 8 ผู้ป่วยและญาติวิตกกังวลจาก ภาวะที่ต้องมีการสอดใส่อุปกรณ์เข้าไปในร่างกาย(ผู้ป่วยรายที่ 1 และรายที่ 2 )
4. อภิปรายผล
4.1. จากการศึกษาผู้ป่วย 2 รายที่มีภาวะการติดเชื้อในร่างกาย เหมือนกันแต่มีภาวะแทรกซ้อนและสาเหตุที่เกิดที่ต่างกัน
4.1.1. ผู้ป่วยรายที่ 1 เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน ขาดความสมดุลของ สารนำ้าและอิเลคโทรไลต(ในร่างกายอย่างรุนแรง BUN = 70.7 mg./dL,Creatinine = 3.91 mg./dLCO2 = 12.80mmol/l ร่างกายมีภาวะเป็นกรดจนทำให้ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจแกไขภาวะ ต่างๆเหล่านี้ ติดตามการทำางานของไตเจาะเลือดตรวจทุกวันทำาให้ ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล 9 วันผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ 2 วันโดยใช้ การประเมินผู้สูงอายุตามแบบแผนสุขภาพตามทฤษฎีทางการ พยาบาลของกอร(ดอน
4.1.2. ผู้ป่วยรายที่2 มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อที่ปอด จนทำาให้ระบบ หายใจล้มเหลวต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ต้องมีการใส่สายสวน หลอดเลือดดำาเพื่อประเมินการให้สารน้ำอย่างเหมาะสมเนื่องจาก เป็นผู้สูงอายุภาวะต่างๆเหล่านี้ได้รับการแก้ไขจนกลับมาเป็นปกติ และหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ภายใน 3 วันเนื่องจากเป็นผู้สูงอายุที่ ต้องมีการฟืนฟูนานการใช้ทฤษฎีของโอเร็มจึงสามารถนำามา ประยุกต์(ใช้จำนวนผู้ป่วยสามารถูกลับบ้านได้หลังรับไวในโรงพยาบาล 13 วัน
5. สรุปและข้อเสนอแนะ
5.1. ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกทั้ง 2 ราย เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลด้วยภาวะติดเชื้อในร่างกายที่มีภาวะแทรกซ้อนใน ระบบสำคัญของชีวิตที่ต่างกัน ในการให้การพยาบาลจะมีทั้งข้อที่ เหมือนและแตกต่างกัน
5.1.1. ข้อที่เหมือนกันคือการใช้เครื่องช่วยหายใจ เพื่อแก้ไขระบบหายใจล้มเหลว การดูแลการให้สารน้ำและอิเลค โทรไลต(ให้เพียงพอ การให้สารอาหารที่เพียงพอ)
5.1.2. ข้อที่แตกต่างก็ คือผู้ป่วยรายที่ 1 มีภาวะไตวายเฉียบพลันจากการติดเชื้อ ระบบทางเดินอาหารและภาวะช็อก ถ้าแก้ไม่ได้จะเป็นไตวายเรื้อรังและ ถึงแก่ชีวิตได้ ในผู้ป่วยรายที่ 2 ที่มีการติดเชื้อที่ปอดร่วมกับมีภาวะ ติดเชื้อรุนแรงและเสี่ยงต่อการติดเชื้อในหลอดเลือดดำาเนื่องจากได้ รับการสวนหลอดเลือด ผู้ป่วยและญาติมีความกดดัน ความวิตก กังวลมากในผู้ป่วยรายที่ 1 กังวลเนื่องจากเป็นผู้ดูแลครอบครัวและ อายุน้อย ในผู้ป่วยรายที่ 2 กลัวว่าจะเสียชีวิตเนื่องจากเป็นผู้สูงอายุ และไม่เคยเจ็บป่วยรุนแรงจนต้องมีการใช้เครื่องมือมาก
5.1.3. ดังนั้นพยาบาลจึงได้นำทฤษฎีทางการพยาบาล ทั้ง 2 ทฤษฎีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม สิ่งสำคัญคือพยาบาลต้องให้ความสนใจในปัญหาผู้ป่วย