1. ปรมาตมัน วิณญารที่เกิดขึ้นเอง
2. อาศรม 4
2.1. พรหมจรรย์
2.1.1. ชั้นศึกษาเล่าเรียน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ
2.2. คฤหัสถ์
2.2.1. ชั้นการครองเรือน
2.3. วานปรัสถ์
2.3.1. ชั้นแยกตัวไปปฏิบัติธรรม
2.4. สันยาสี
2.4.1. ชั้นการอกบวช
3. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ
3.1. เป็นศาสนาดก่าแก่ที่สุดในโลก
3.2. กำเนิดในชมพูทวีป
3.3. ชื่อเดิมว่า "สนาตนธรรม" คือ ศาสนาอันเป็นนิรันดร์
3.3.1. สัญลักษณ์อ่านว่า "โอม"
3.3.1.1. เกิดจากการเอ่ยพระนามเทพเจ้าทั้ง 3พระองค์
4. 2.1วรรระ
4.1. พราหมณ์
4.1.1. ประกอบพิธีทางศาสนา
4.2. กษัตริย์
4.2.1. ปกครองประเทศ
4.3. แพศย์
4.3.1. ประกอบอาชีพต่างๆ เช่น พ่อค้า ชาวนา
4.4. ศูทร
4.4.1. ผู็ใช้แรงงาน มีหน้าที่รับใช้ 3 วรรณะ
4.4.2. จันฑาล
4.4.2.1. ไม่นับเป็นวรรณะ (อวรรณะ)มีหน้าที่ทำงานชั้นต่ำ
5. วิวัฒนาการ
5.1. แบ่งเป็น 4ยุคคือ
5.1.1. 1.ยุคอารยัน
5.1.2. 2.ยุคพระเวท
5.1.3. 3.ยุคพราหมณ์
5.1.4. 4.ยุคฮินดู
6. คำภีร์
6.1. คัมภีร์ศรุติ หรือ คำภีร์พระเวท
6.1.1. ได้ยินได้ฟังมาจากพระเจ้าโดยตรง ประกอบด้วย
6.1.1.1. ฤคเวท:ใช้สวดสรรเสริญอ้อนวอนเทพเจ้า
6.1.1.2. ยชุรเวท:ใช้สวดบรวงสรวง
6.1.1.3. สามเวท:บทสวดมนต์ร้อยกรอง
6.1.1.4. อาถรรพเวท:ใช้สวดเกี่ยวกับเวทมนต์
6.2. หลักปรมาตมัน-อาตมัน-โมกษะ
6.2.1. อาตมัน จะสถิตย์อยู่ในสิ่งมีชีวิต
6.2.2. โมกษะ การหลุดพ้นจากวัฏสงสาร
6.3. คัมภีร์สมฤติ
6.3.1. มนุษย์แต่งขึ้นเอง
6.3.1.1. คัมภีร์ปุราณะ :รวมความรู้ของชาวฮินดู หลักปรัชญา
6.3.1.2. คัมภัร์อุปนิษัท:หลักปรัชญาว่าด้วยวิณญาณสากล
6.3.1.3. คัมภีร์ตันตระ:ว่าด้วยการสร้างสรรพสิ่ง
6.3.1.4. คัมภีร์อิติหาสะ:ประกอบด้วยมหากาพย์
6.3.1.5. คัมภีร์ธรรมศาสตร์:ตำราอธิบายลักษณะกฏหมาย
6.4. ปุรุษารถะ
6.4.1. จุดมุ่งหมายของสิ่งมีชีวิต 4ประการ
6.4.1.1. ธรรม:กรรมเป็นผู้มีคุณธรรม
6.4.1.2. กาม:กาแสวงหาความสุขทางโลกตามหลักธรรม
6.4.1.3. อรรถ:การแสวงหาทรัพย์สิน
6.4.1.4. โมกษะ:การหลุดพ้นจากความทุกข์
7. จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
7.1. การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
8. ความเชื่อ
8.1. เชื่อว่ามนุษย์ไม่เท่าเทียมกัน มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ เช่นการแต่งงานข้ามวรรณะ เรียกว่า "จัณฑาล"
9. นิกายพราหมณ์-ฮินดู
9.1. พรหม
9.1.1. นับถือ พระ พรหม
9.2. ไวษณพ
9.2.1. นับถือพระนารายณ์
9.3. ไศวะ
9.3.1. นับถือพระศิวะ
9.4. ศักดิ
9.4.1. นับถือพระชาญาของเทพเจ้า
10. พิธีกรรม
10.1. พิธีสังสการ
10.1.1. มีเฉพาะคนวรรระกษัตริย์ พราหมณ์ และเพศ เท่านั้น
10.1.1.1. เดิมมี12แต่ลดเหลือเพียง4ประการเท่านั้นคือ
10.1.1.1.1. นามกรรม อุปนัยน์ อันฉปราศัน วิวาหะ
10.2. พิธีศราทย์
10.2.1. การทำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษโดยการถวายข้าวบิณฑ์
10.3. พิธีบูชาเทวดา
10.3.1. มีวิธีการต่างกันไปตามวรรณะ
10.3.1.1. โดยวรรณสูงจะสวดมนต์ภาวนาหรือบำเพ็ญกุศลในเทวาลัย
10.4. กฏเกี่ยวกับวรรณ
10.4.1. เช่นการแต่งงานนอกวรรณะ
10.4.1.1. คนวรรณะต่ำจะปรุงอาหารให้คนวรรณะสูงไม่ได้
11. หลักธรรม
11.1. หลักธรรม 10 ประการ
11.1.1. ธฤติ : ความมั่นคง ความกล้า
11.1.2. กามา: ความอดทน อดกลั้น
11.1.3. ทหะ: การขมใจ
11.1.4. อัสเตยะ: การไม่ลักขโมย
11.1.5. เศาจะ: การกระทำตนให้บริสุทธิ์ทั้งกายและใจ
11.1.6. อินทรียนิครหะ:ไม่ลุ่มหลงทางวัตถุ
11.1.7. ธี: การมีปัญญาและสติ
11.1.8. วิทยา:การมีความรู้ทางปรัชญา
11.1.9. สัตยา:ความซื่อสัตย์ จริงใจต่อกัน
11.1.9.1. อโกธ: ความไม่โกรธ