1. เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา FTAA
1.1. เกิดจากแนวคิดของจอร์จ บุช (1990)
1.2. ครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
1.3. แผนปฏิบัติการ 3 ด้าน
1.3.1. สร้างความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตย
1.3.2. สร้างความมั่งคั่ง/ความเจริญรุ่งเรือง
1.3.3. ให้ความสาคัญต่อทรัพยากรมนุษย์
1.4. อุปสรรค
1.4.1. ระดับการพัฒนาและความเจริญของแต่ละประเทศ แตกต่างกัน
1.5. ผลกระทบ
1.5.1. ด้านการค้า
1.5.1.1. สมาชิก FTAA เข้ามาแย่งส่วนแบ่งการตลาดของไทย
1.5.2. ด้านการลงทุน
1.5.2.1. เปลี่ยนฐานการลงทุนในต่างประเทศจากภูมิภาคเอเซีย
2. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA
2.1. ความเป็นมา
2.1.1. สหรัฐฯ
2.1.1.1. เพื่อลดปัญหาชายแดนสหรัฐฯ-เม็กซิโก
2.1.1.1.1. ปัญหาลักลอบมาทางานอย่างไม่ถูกกฎหมายของชาวเม็กซิโกตามแนวชายแดน
2.1.1.1.2. ยาเสพติด
2.1.1.1.3. ปัญหามลภาวะ
2.1.1.2. มุ่งใช้ NAFTA เป็นฐานการค้าหลัก แก้ไขปัญหาการขาดดุลการค้าภายในประเทศ
2.1.2. แคนาดา
2.1.2.1. จะมีศักยภาพการแข่งขันในระยะยาวมากขึ้น
2.1.2.2. NAFTA จะช่วยให้เศรษฐกิจของเม็กซิโกดีขึ้น
2.1.3. เม็กซิโก
2.1.3.1. NAFTA จะทาให้เม็กซิโกได้รับประโยชน์จากการดึงดูดเงินทุน/เทคโนโลยีจากต่างประเทศ
2.1.3.2. สามารถเพิ่มศักยภาพการลงทุนในประเทศมากยิ่งขึ้น
2.2. ความสาคัญ NAFTA ต่อเศรษฐกิจโลก
2.2.1. ขยายเขตการค้าเสรีให้ใหญ่ขึ้นในทวีปอเมริกา
2.2.2. กระบวนการแบบ พหุภาคีและแบบภูมิภาคร่วมกัน
2.2.3. NAFTA มีอิทธิพลต่อการรวมกลุ่ม
2.3. ผลกระทบของ NAFTA ต่อการค้าและการลงทุนของไทย
2.3.1. การลดภาษี ทำให้ไทยเสียเปรียบด้านการแข่งขันในตลาดอเมริกาเหนือ
2.3.2. แหล่งกาเนิดสินค้าเป็นอุปสรรคในการใช้วัตถุดิบและส่วนประกอบของไทย
2.3.3. สมาชิก NAFTA ได้หลักประกันเต็มที่
2.4. ทิศทางการปรับตัวของประเทศ
2.4.1. สหรัฐมีสัดส่วนการค้ามากกว่า 95% ในอเมริกาเหนือ
2.4.2. ไทยต้องการปรับปรุงรูปแบบการทาการค้า
3. กลุ่มตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง MERCOSUR
3.1. ขั้นตอนของการรวมกลุ่ม
3.1.1. สหภาพศุลกากร (1 มกราคม 1995)
3.1.2. เขตการค้าเสรี (เริ่มปี 2005)
3.1.3. ตลาดร่วม (เริ่มปี 2015)
3.2. แหล่งกำเนิดสินค้า
3.2.1. สปก.ที่ผลิตในกลุ่มต้องไม่น้อยกว่า 60%
3.2.2. ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของประเทศปลายทาง
3.3. ความเคลื่อนไหว
3.3.1. กำลังเจรจากับสหภาพยุโรป EU
3.3.2. เจรจาอย่างไม่เป็นทางการกับกลุ่มประเทศ CER
3.3.3. พยายามขยายความสัมพันธ์กับกลุ่มแอนเดียน
3.4. ชิลีได้ขอเป็นเพียงสมาชิกสมทบของกลุ่มเมอร์โคซูร์
3.5. ปัญหาและอุปสรรค
3.5.1. ไม่สามารถหาข้อสรุปมาตรการที่มิใช่ภาษีได้
3.5.2. ต่างเจรจาในระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆโดยตรง
4. กลุ่มประชาคมแอนเดียน Andean Community
4.1. ตั้งขึ้นเพื่อร่วมมือกันเร่งรัดพัฒนาประเทศ
4.2. ปี 1980
4.2.1. เศรษฐกิจตกต่ำ
4.2.1.1. การกีดกันทางการค้าสูงขึ้น
4.2.1.2. เริ่มละเมิดมาตรการการเปิดเสรีทางการค้า
4.3. ปี 1987
4.3.1. ประเทศสมาชิกมีสิทธิสงวนสินค้าที่อ่อนไหว
4.4. ปี 1996
4.4.1. ปรับโครงสร้างกลุ่มแอนเดียนใหม่
4.4.2. ทากลุ่มแอนเดียนให้เป็นตลาดร่วม
4.5. ปี 1997
4.5.1. เจรจากับกลุ่มเมอร์โคซูร์
4.5.2. ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) จากประชาคมยุโรป
4.5.3. ยกเว้นเวเนซุเอลา ได้รับ GSP จากสหรัฐฯ และยังได้รับสิทธิพิเศษภายใต้กฎหมาย
5. ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ SADC
5.1. ประเทศในกลุ่มนี้มีทรัพยากรธรรมชาติมาก
5.2. วัตถุประสงค์
5.2.1. ขจัดความยากจน
5.2.2. การจัดสรรทรัพยากรในภูมิภาค
5.2.3. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
5.3. ปัญหาและอุปสรรค
5.3.1. การเจรจาบางครั้งไม่สามารถตกลงกันได้
5.3.2. การเสียเปรียบหรือได้เปรียบทางการค้าภายในกลุ่มสมาชิก
5.4. ผลกระทบ
5.4.1. ด้านการใช้ทรัพยากร
5.4.2. การค้าภายในกลุ่มเพิ่มสูงขึ้น
5.4.3. ด้านมาตรฐานของสินค้า
5.4.4. ด้านอุตสาหกรรมภายในประเทศ
5.5. ข้อตกลงการค้าระหว่าง SADC กับ EU
5.5.1. สนใจในด้านสิทธิมนุษยชน กฎหมายและหลักประชาธิปไตย
5.5.2. ขยายความสัมพันธ์ของภาคเอกชน
5.5.3. ศึกษากลุ่มSADC ในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโดยใช้ EU เป็นแม่แบบ
5.5.4. ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขและสุขภาพแก่ประชาชน
6. สหภาพยุโรป EU
6.1. สหภาพยุโรปในระยะที่หนึ่ง (ค.ศ. 1951-1964)
6.1.1. แนวความคิดในการรวมกลุ่ม
6.1.1.1. ร่วมมือเพื่อเอาชนะการมีอคติและความไม่ไว้วางใจระหว่างชนชาติยุโรปตะวันตก
6.1.2. ข้อตกลงพื้นฐานในการรวมกลุ่ม
6.1.2.1. เกิดองค์การความร่วมมือ 3 องค์การ
6.1.2.1.1. ประชาคมเหล็กและถ่านหินยุโรป (The European Coal and Steel Community –ECSC)
6.1.2.1.2. ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (The European Economic Community -EEC)
6.1.2.1.3. ประชาคมพลังงานอะตอมยุโรป (The European Atomic Energy Communtiy -Euratom)
6.1.3. หลังการรวมตัวของ 3 องค์การ
6.1.3.1. การปรับระบบภาษีศุลกากร
6.1.3.2. การจัดตั้งกองทุน
6.1.3.3. นโยบายเกษตรร่วม
6.2. สหภาพยุโรปในระยะที่ 2 (ค.ศ. 1965-1991)
6.2.1. เป้าหมาย สู่การเป็นประชาคมยุโรป
6.2.1.1. รวมทั้ง 3 องค์การเข้าด้วยกัน
6.2.2. เป้าหมายหลักของประชาคมยุโรป
6.2.2.1. การรวมตัวทางเศรษฐกิจ
6.2.2.2. ร่วมมือทางการเมือง
6.2.2.3. รวมตลาดขนาดเล็กของแต่ละประเทศ
6.2.2.4. ก่อตั้งตลาดขนาดใหญ่
6.2.2.4.1. ปรับปรุงกระบวนการผลิต
6.2.3. หลังการรวมตัวเป็นประชาคมยุโรป
6.2.3.1. จัดตั้งสหภาพศุลกากร
6.2.3.2. ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร
6.2.3.3. มีการจัดตั้งกองทุน
6.2.3.4. ขยายการรับประเทศสมาชิกเพิ่ม
6.2.3.5. สร้างความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกอาเซียน
6.2.3.6. สร้างตลาดยุโรปเดียว
6.2.3.6.1. Single Act
6.2.3.6.2. White Paper
6.3. สหภาพยุโรปในปัจจุบัน (ค.ศ. 1992-ปัจจุบัน)
6.3.1. สนธิสัญญามาสทริชท์
6.3.1.1. วัตถุประสงค์
6.3.1.1.1. สร้างสหภาพเศรษฐกิจ
6.3.1.1.2. การเงินของยุโรปให้เป็นหนึ่งเดียว
6.3.1.2. สาระสาคัญ
6.3.1.2.1. การเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจ
6.3.1.2.2. การเป็นสหภาพทางการเงิน
6.3.1.2.3. การเป็นสหภาพทางการเมือง
6.3.1.3. ผลของสนธิสัญญามาสทริชท์
6.3.1.3.1. มีการปรับปรุงองค์กร
6.3.1.3.2. การขยายประเทศสมาชิก
6.3.1.4. ผลกระทบต่อประเทศไทย
6.3.1.4.1. สมาชิกใหมเข้ามาเป็นคู่ค้าที่สำคัญ
6.3.1.4.2. สินค้าเกษตรของไทยที่อยู่ในภาวะแข่งขัน
6.3.1.4.3. สมาชิกใหม่ด้านเกษตรเข้าร่วม
6.3.1.4.4. ในระยะยาว ศักยภาพในการแข่งขันของไทยอาจจะลดลง
6.3.2. การค้าระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป
6.3.2.1. การค้าร่วม
6.3.2.1.1. ส่งออกที่สำคัญ
6.3.2.1.2. นำเข้าที่สำคัญ
6.3.2.2. อุปสรรคทางการค้า
6.3.2.2.1. การเพิ่มความเข้มงวด
6.3.2.2.2. มาตรการต่อต้านการทุ่มตลาด
6.3.2.2.3. GSP สหภาพยุโรปได้ตัดสิทธิพิเศษ GSP
6.3.2.2.4. Food Safety
6.3.2.2.5. IPP (Integrated Product Policy)
6.3.2.2.6. WEEE(Waste Electrical and Electronic Equipment)
6.3.2.3. ผลกระทบ
6.3.2.3.1. กำหนดมาตรฐานสินค้าให้สูงขึ้น
6.3.2.3.2. การใช้เงินยูโร
6.3.2.3.3. ใช้อัตราศุลกากรร่วมของ EU