ฟิสิกส์นิวเคลียร์
by สิริรัตน์ แก้วศิริ
1. ปฎิกริยาฟิชชั่น
1.1. เกิดจากการยิงนิวตรอนเข้าอย่างช้าๆ หรือนิวตรอนที่มีพลังงานต่ำไปยังนิวเคลียสของธาตุหนัก
2. ธาตุกัมมันตรังสี
2.1. ธาตุที่สามารคปล่อยรังสี เเอลฟา บีต้า เเกมม่าได้
2.2. เเอลฟา = ^4/2 He
2.3. บีต้า = ^0/-1 e
2.4. เเกมม่า = เลขอะตอมเเละเลขมวลไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. ชนิดของรังสี
3.1. รังสีเเอลฟา (a) = ประกอบด้วยนิวเคลียนของ He มีนิวตรอน 2 โปรตรอน 2
3.2. รังสีบีต้า (B) = อิเล็กตรอน
3.3. รังสีเเกมม่า (Y) = เป็นคลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่มากกว่ารังสี X
4. สมบัติของ a , B , Y
4.1. มวล a > B > Y
4.2. พลังงาน a > B > Y
4.3. การทำให้อากาศเเตกตัวเป็นไอออน a > B > Y
4.4. อำนาจทะลุทะลวง = Y > B > a
5. กัมตภาพ (Activity)
5.1. A = Delta N/Delta T ... อัตรการสลายตัวของนิวเคลียสต่อวินาที
5.2. A = Delta N/Delta T = เเลทด้าN
6. ปฎิกริยาลูกโซ่
6.1. ปฎิกริยาที่เกิดขึ้นจากการที่นิวตรอนถูกนิวเคลียสจับไว้เเล้วทำให้นิวเคลียสเเตกตัวพร้อมมีอนุภาคนิวตรอนหลุดออกมาด้วยนิวตรอนที่เกิดใหม่เหล่านี้จะถูกนิวเคลียสอื่นๆจับ
6.2. ไว้ทำใหม้มันเตกตัวออกไปอีกมีพลังงานปลดปล่อยมากขึ้นทำให้ปฎิกริยาเเตกตัวออกไปเรื่อยๆ
7. ปฎิกริยานิวเคลียร์
7.1. การสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสีไปเป็นนิวเคลียสใหม่
8. ไอโซบาร์
8.1. เลขมวลเท่ากัน โปรตรอนไม่จำเป็นต้องเท่ากัน
9. ไอโซโทน
9.1. จำนวนนิวตรอนเท่ากัน
10. ไอโซโทป
10.1. จำนวน เลขอะตอม เท่ากันเเต่นิวตรอนไม่จำเป็นต้องเท่ากัน
11. สัญลักษณ์นิวเคลียร์
11.1. a^/b X
11.1.1. a = เลขมวล โปตรอน + นิวตรอน
11.1.2. b = เลขอะตอม โปรตรอน
11.1.3. X = สัญลักษณ์ของธาตุ
12. การหาจำนวน นิวเคลียส (N) มวล (m) กัมมันภาพ (A)
12.1. N = N0/2^n
12.1.1. N = จำนวนนิวเคลียสที่ผ่านไป t วินาที
12.1.2. n = จำนวนเท่าของครึ่งชีวิต n = 1/t