ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย by Mind Map: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย

1. ความหมายและที่มาของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์เป็นคำสมาส แยกเป็น 2 คำ คือ “นาฏ” กับคำว่า “ศิลปะ” นาฏ หมายถึง การฟ้อนรำ หรือความรู้แบบแผนของการฟ้อนรำ ศิลปะ ได้แก่ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สร้างอย่างประณีต ดีงาม และสำเร็จสมบูรณ์ศิลปะเกิดขึ้นด้วย ทักษะ

2. สาระการเรียนรู้

3. นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของมนุษย์ปุถุชน อากัปกิริยาต่างๆ เป็นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนำมาปรับปรุง บัญญัติสัดส่วน และกำหนดวิธีการ จนกลายเป็นท่าฟ้อนรำ

4. กถักกฬิเป็นการแสดงละครที่งดงามด้วยศิลปะการร่ายรำแบบเก่าๆ ผู้แสดงต้องสวมหน้ากาก นับว่าก ถักกฬิของอินเดียเป็นต้นเค้าของนาฏศิลป์ตะวันออก เช่น ละครโนของญี่ปุ่น โขนของไทย ผู้แสดงเป็นชายล้วน แบ่งตัวละครออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทแรกจะเป็นเทพเจ้าที่มีคุณธรรมสูง ประเภทที่สองเป็นมนุษย์และวีรบุรุษ สามเป็นตัวละครที่มีความชั่วร้าย

5. ยักษคณะ พยะลาฏะ เป็นรูปแบบนาฏศิลป์การละคร มีลีลาการเคลื่อนไหวอันหนักแน่นและมีคำ พรรณนาเป็นบทกวีจากมหากาพย์อินเดีย มีการก้าวตามจังหวะฟ้อนรำเป็นของตนเอง การแต่งหน้าและเครื่องแต่ง กายมีความหรูหรา งดงาม และสดใส

6. กูจิปูรีได้ชื่อมาจากหมู่บ้านชนบทในรัฐอันตรประเทศที่ให้กำเนิดการแสดงนี้เป็นการละครฟ้อนรำด้วยศาสนา

7. ที่มาของนาฏศิลป์ไทย

7.1. 1. การเลียนแบบธรรมชาติแบ่งเป็น 2. การเซ่นสรวงบูชา 3. การรับอารยธรรมของอินเดีย

8. นาฏศิลป์เป็นส่วนหนึ่งของศิลปะปะสาขาวิจิตรศิลป์และเป็นมรดกทางวัฒนธรรม การศึกษานาฏศิลป์จึง เป็นการศึกษาวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง

9. สาระสำคัญ

9.1. คัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำของอินเดีย แต่งโดยพระภรตมุนีเรียกว่า คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร

10. ความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย

10.1. เกิดจากอารมณ์ นำการใบ้มาใช้ นักปราชญ์นำไปประยุกต์

11. มณีปุรีเป็นการแสดงละครของชาวไทยอาหม ในรัฐอัสสัม ซึ่งมีรูปร่างหน้าตาเหมือนชาวมองโกล เรียก เมืองหลวงของตนว่า “มณีปุระ” และเรียกการแสดงละครของเมืองนี้ว่า “มณีปุระ”

12. ฉะอู (Chhau) สันนิษฐานว่ามาจากภาษาสันสกฤตคำว่า ฉายา หรือไม่ก็ ฉัทมะ (แปลงกาย) หรือจากภาษาถิ่นอินเดียที่ชื่อว่าโอริยา จากคำว่า ฉะอูนิ ที่แปลว่า ค่ายทหาร อาวุธ หรือ การพรางตัว เป็น นาฏศิลป์ที่ผสมผสานระหว่างคลาสสิกแท้กับระบำพื้นเมืองทั้งหมด

13. ฑัณฑิยา ราส เป็นรูปแบบการเต้นพื้นบ้านดั้งเดิมที่นิยมมากที่สุดในรัฐคุชราต เป็นการเต้นโดยเฉพาะใน เทศกาลนวราตรีซึ่งชาวฮินดูจะไปวัดเพื่อบูชาเทวีในตอนกลางวัน ส่วนกลางคืนก็จะมีการฉลองด้วยการเต้นรำกัน อย่างสนุกสนาน

14. ระบำ หมายถึง การรำเป็นชุด เช่น ระบำดาวดึงส์ ระบำเทพบันเทิง รำ หมายถึง การแสดงในละคร เช่น ละครใน ละครนอก และฟ้อน หมายถึง ชื่อที่ใช้เรียกการแสดงทางภาคเหนือ ดังนั้น รำไทยจึงเป็นคำเดียวกันกับคำว่า ระบำ รำ เต้น หรือ ฟ้อนรำ ในสมัยโบราณ