1. ทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพมนุษย์ 8 ขั้น ของแอริค เอช.แอริคสัน
1.1. ขั้นที่1 ความไว้วางใจแย้งกับความไม่ไว้วางใจ
1.2. ขั้นที่2 ความเป็นตัวของตัวเองแย้งกับความละอายใจและไม่มันใจ
1.3. ขึ้นที่3 ความคิดริเริ่มแย้งกับความรู้สึกผิด
1.4. ขั้นที่4 เอาการเอางานแย้งกับปมด้อย
1.5. ขึ้นที่5 การพบเอกลูกษณ์แห่งตนแย้งกับการไม่เข้าใจตนเอง
1.6. ขั้นที่6 มีวามสัมพันธุ์ใกล้ชิดกับผู้อื่นแย้งกับความโดดเดียว
1.7. ขั้นที่7 การทำประโยชน์ให้กับสั่งคมแย้งกับการคิดถึงแต่ตัวเอง
1.8. ขั้นที่8 ความมั่นคงทางใจแย้งกับความสิ้นหวัง
1.9. การนำไปประยุกต์ใช้ในขึ้นเรียนของทฤษฎีพัฒนาการ
1.9.1. ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอีริคสันส่งผลให้วงการศึกษา ตื่นตัวย่างน้อยที่สุด 2 เรื่องคือสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้เป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการพัฒนาแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน นอกจากนี้ครูที่นำขั้นพัฒนาการมาใช้เป็น แนวคิดพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้ก็จะสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้ เรียนมีบุคลิกภาพหรือคุณลักษณะที่พึงประสงค์ได้
2. ทฤษฎีการเรียนรู้ ของ อัล เบิร์ต บันดูรา
2.1. พฤติกรรมและการปฏิสัมพันธ์
2.1.1. B (BEHAVIOR) = พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล
2.1.2. P (PERSON) = บุคคล (ตัวแปรที่เกิดจากผู้เรียน เช่นความคาดหวังของผู้เรียน ฯลฯ)
2.1.3. E (ENVIRONMENT) = สิ่งแวดล้อม
2.2. ขั้นตอนการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ
2.2.1. ขั้นที่ 1 ขั้นการได้รับมาซึ่งการเรียนรู้
2.2.2. ขั้นที่ 2 เรียกว่าขั้นการกระทำ
2.3. ปัจจัยที่สำคัญในการเรียนรู้โดยการสังเกต
2.3.1. กระบวนการความเอาใจใส่
2.3.2. กระบวนการจดจำ
2.3.3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง
2.3.4. กระบวนการการจูงใจ
3. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
3.1. พัฒนาการทางจริยธรรม 3 ระดับ
3.1.1. ระดับที่1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์ สังคม
3.1.2. ระดับที่2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
3.1.3. ระดับที่3 ระดับจริยธรรมตามหลักการด้วยวิจารณญาณหรือระดับเหนือกฎเกณฑ์สังคม
3.2. การนำไปประยุกต์ใช้ในขึ้นเรียนของทฤษฎีพัฒนาการ
3.2.1. พัฒนาการทางจริยธรรมของโคห์ลเบิร์กทำให้ผู้สอนรู้ว่าเด็กเล็กมีการตอบสนองข้อขัดแย้งในเรื่องจริยธรรม แตกต่างจากเด็กโต ซึ่งในการจัดการเรียนรู้นั้นผู้สอนควรกระตุ้นให้ด็กได้สื่อแนวคิดนั้นๆ ออกมาโดยสร้างบรรยากศที่สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนอภิปรายได้อย่างอิสระ และใช้สถานการณ์ตัวอย่างหรือเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในห้องเรียนมากระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงการมีจริยธรรม
4. ทฤษฎีพัฒนาการของ โรเบ็ร์ตฮาวิกเฮิร์ส
4.1. 1. วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด-6 ปี)
4.2. 2. วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี)
4.3. 3. วัยรุ่น (12-18 ปี)
4.4. 4.วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี)
4.5. 5.วัยกลางคน (35-60 ปี)
4.6. 6.วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
5. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ซิกมันด์ ฟลอยด์
5.1. ระดับของจิต
5.1.1. จิตสำนึก
5.1.2. จิตกึ่งสำนึก
5.1.3. จิตไร้สำนึก
5.2. โครงสร้างบุคลิกภาพ
5.2.1. ID เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด เป็นส่วนที่ไร้จิตสำนึก จุดหมายคือ ความ พอใจ (เอาแต่ได้อย่างเดียว) ผลักดัน Ego ให้ทำตามที่ Id ต้องการ
5.2.2. EGO เป็นส่วนที่พัฒนามาจากการที่ทารกได้ปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก บุคคลที่ปกติ คือมี Ego EGO สามารถปรับตัวให้สมดุลระหว่างความต้องการ Id , โลกภายนอก ,Superego
5.2.3. SUPEREGO เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่พัฒนามาจากขึ้นอวัยวะทางเพศ เป็นส่วนที่ตั้งมาตรการขอ พฤติกรรมให้แต่ละบุคคล โดยได้รับคนิยมจากพ่อแม่ มาตรการจะคอยบอกว่าอะไรควรอะไรไม่ควร
5.3. ขึ้นตอนการพัฒนาบุคลิกภาพ
5.3.1. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะปาก
5.3.2. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะทวารหนัก
5.3.3. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศ
5.3.4. ขั้นแสวงหาความสุขจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
5.3.5. ขั้นแสวงหาความสุขจากแรงกระตุ้นทางเพศ
5.4. กลไกการป้องกันทางจิต
5.4.1. การเก็บกด
5.4.2. การถดถอย
5.4.3. การทำพฤติกรรมตรงข้ามกับความรู้สึก
5.4.4. การเปลี่ยนทิศทางหรือเป้าหมาย
5.4.5. การหาเหตุผลมาอ้าง
5.4.6. การชดเชย
5.4.7. การโยนความผิดให้ผู้อื่น
5.4.8. การฝันกลางวัน หรือเพ้อฝัน
5.4.9. การปฏิเสธความจริง
5.5. การนำไปประยุกต์ใช้ ในขึ้นเรียนของทฤษฎีพัฒนาการ
5.5.1. หากเด็กผ่านแต่ละวัยมาโดยไม่มีปัญหาไม่เกิดการชะงักที่วัยใดวัยหนึ่งก็จะโตขึ้นมีบุคลิกภาพที่ปกติ แต่ถ้าเด็กมีปัญหาในแต่ละขั้นของพัฒนาการก็จะมีบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น เด็กเกิดการชะงักที่ขึ้นปาก ก็จะส่งผลต่อเด็กเมื่อโตขึ้น เช่น สูบบุหรี่ กัดนิ้ว ดูดนิ้ว รับประทานมาก เป็นต้น เราจึงควรมีการเลี้ยงดูที่เหมาะสมแต่ละช่วงวัยในข้นอวัยวะเพศ
5.5.2. เด็กจะมีการแบ่งแยกบุคลิกภาพทางเพศในขั้นนี้เด็กเริ่มมีการสนและเรียนรู้เรื่องของแตกต่างด้านเพศมีความสนใจสอบถามหรือเลียนแบบพฤติกรรมเด็กผู้ชาย จะเลียนแบบพฤติกรรมของพ่อ เด็กผู้หญิง จะเรียนแบบพฤติกรรมของแม่พราะฉะนั้นต้องให้ความรู้ด้านเพศที่ถูกต้องแก่เด็ก หากเด็กไม่ได้รับความรู้ที่ถูกต้องหรือขาดต้นแบบที่ดื้อาจทำให้ด็กเกิดการสับสนทางเพศและโตขึ้นอาจจะเบี่ยงเบนทางเพศได้
6. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญาของเพียเจท์
6.1. ธรรมชาติของมนุษย์พื้นฐานติดตัวมา ตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด
6.1.1. การจัดและรวบรวม
6.1.2. การปรับตัว
6.2. พัฒนาการของเชาวน์ปัญญา
6.2.1. วุฒิภาวะ
6.2.2. ประสบการณ์
6.2.3. การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม
6.2.4. กระบวนการพัฒนาสมดุล
6.3. ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา
6.3.1. ขั้นใช้ประสาทสัมมผัสและกล้ามเนื้อ
6.3.2. ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ
6.3.3. ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม
6.3.4. ขั้นใช้ความดิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม
6.4. การนำไปประยุกต์ใช้ในขึ้นเรียนของทฤษฎีพัฒนาการ
6.4.1. เน้นพัฒนาการทางสติปัญญของผู้เรียน
6.4.2. เสนอการเรียนที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่
6.4.3. เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
6.4.4. เน้นกิจกรรมกำรสำรวจและการเพิ่มขยายความคิดในระหว่างการเรียนการสอน
6.4.5. ใช้กิจกรรมขัดแย้งโดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของตนเอง
6.4.6. ถามคำถามมากกว่าการให้คำตอบ
6.4.7. ผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มากขึ้น
6.4.8. ให้เสรีภาพแก่นักเรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรม
6.4.9. ควรถามคำถามหรือจัดประสบการณ์ให้นักเรียนเพื่อนักเรียนจะได้แก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง
6.4.10. ยอมรับความจริงที่ว่านักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน
6.4.11. มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน
6.4.12. พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอนคำถามนั้น ๆ