การพัฒนาหลักสูตร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาหลักสูตร by Mind Map: การพัฒนาหลักสูตร

1. 8.เป็นหลักสูตรที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียนและชุมชน อย่างกว้างข้างทั่วถึง

2. 7.เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเพื่อที่จะนําไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร

3. 6.เป็นหลักสูตรที่มีการอธิบาย ชี้แจง ชัดเจน

4. 5.เป็นหลักสูตรที่มีแผนงานสอดคล้องสัมพันธ์กับการเรียนการสอนและการวัดผล

5. 4.เป็นหลักสูตรที่ครูและนักเรียนมีความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับแผนการเรียนต่างๆในหลักสูตรและนักเรียนมีส่วนร่วมในการทําแผนการเรียนนั้นๆ

6. 3.เป็นหลักสูตรที่มีกระบวนการเรียนที่ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสก้าวหน้าและมีอิสระที่จะพัฒนาตามความสามารถ ความสนใจและตามแนวทางของตนเอง

7. 2.เป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายชัดเจน

8. 1.เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุมข้อมูลที่ได้มาจากนักเรียน สังคม กระบวนการเรียนและความรู้ที่จะได้รับในระหว่างการศึกษา

9. 3.หลักสูตรระดับโรงเรียน เป็นหลักสูตรที่นำหลักสูตรแม่บทและหลักสูตรท้องถิ่นมาพิจารณาเลือกสรรและปรับให้สอดคล้อง เหมาะกับสภาพของโรงเรียน

10. 2.หลักสูตรระดับท้องถิ่น เป็นหลักสูตรที่ปรับปรุงมาจากหลักสูตรแม่บทให้มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพ ความจําเป็นและความต้องการของท้องถิ่นนั้นๆ

11. 1.หลักสูตรระดับชาติหรือหลักสูตรแม่บท เป็นหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาต่างๆทั่วประเทศ

12. 5.หลักสูตรระดับประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากการเรียนการสอนในระดับปฏิบัติการ ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระดับ

13. 4.หลักสูตรระดับปฏิบัติการ เป็นหลักสูตรในระดับที่ใช้ในห้องเรียน

14. 3.หลักสูตรระดับการเรียนรู้ เป็นหลักสูตรตามความเข้าใจของครูผู้ใช้หลักสูตร

15. 2.หลักสูตรระดับปกติ เป็นหลักสูตรซึ่งถูฏถ่ายทอดแนวความคิดของนักการศึกษาและผู้เชี่ยวชาญต่างๆมาเขียนเป็นเอกสารหลักสูตร

16. 1.หลักสูตรระดับอุดมการณ์ หลักสูตรที่เป็นแนวความคิดและข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอต่างๆของนักการศึกษา ซึ่งต้องการจะให้ผู้เรียนมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งStructure research results

17. 7.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์ เป็นหลักสูตรที่มีความสัมพันธ์กันในหมวดวิชา

18. 4.หลักสูตรแบบแกนกลาง หลักสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและเจตคติ เพื่อนําไปพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น

19. 3.หลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและการดํารงชีวิต เป็นหลักสูตรที่ยึดสังคมเป็นหลัก โดยคํานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียนเป็นพื้นฐาน

20. 1.หลักสูตรแบบเน้นเนื้อหาวิชา เป็นหลักสูตรที่เก่าที่สุดซึ่งใช้สอนศาสนา ละติน กรีก

21. 5.หลักสูตรที่ยึดกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่สร้างขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาวิชา ที่ไม่คํานึงถึงความต้องการและความสนใจของผู้เรียน

22. 9.หลักสูตรแบบส่วนบุคคล เป็นหลักสูตรที่ครูและนักเรียนวางแผนร่วมกันตามความเหมาะสมและความสนใจของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมและดึงศักยภาพผู้เรียนออกมาให้ได้มากที่สุด

23. 6.หลักสูตรแบบบูรณาการ เป็นหลักสูตรที่รวมประสบการณ์ในการเรียนจากหลายๆสาขาวิชา มาจัดเป็นกลุ่มหรือหมวดหมู่

24. 2.หลักสูตรแบบหมวดวิชา เป็นหลักสูตรที่กําหนดเนื้อหาวิชาไว้กว้างๆโดยนําความรู้มาผสมผสานเข้าเป็นหมวดวิชาเดียวกัน

25. 5.ระดับของหลักสูตร

26. 6.รูปแบบของหลักสูตร

27. 7.ลักษณะของหลักสูตรที่ดี

28. 8.หลักสูตรแบบเอกัตบุลคล เป็นหลักสูตรที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน

29. 4.วิธีการประเมิน ประเมินเพื่อตรวจสอบจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้และจะทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายนั้นๆแล้ว

30. 3.วิธีการจัดประสบการณ์ โรงเรียนจะจัดประสบการณ์ให้มีประสิทธิภาพอย่างไร

31. 2.ประสบการณ์ทางการศึกษา โณงเรียนจะจัดประสบการณ์อะไรบ้างที่จะทําให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้

32. 1.จุดมุ่งหมายทางการศึกษา โรงเรียนจะทําอย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุผล

33. 2.ความสําคัญของหลักสูตรต่อการเรียนการสอน หลักสูตรจะต้องช่วยกําหนดแนวทางในการเรียนการสอนเพื่อให้แต่ละฝ่ายปฏิบัติหน้าที่ได้สอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกัน จนบรรลุจุดหมายตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ ดังนั้นหลักสูตรมีความสําคัญอย่างยิ่งในการเป็นกรอบแนวทางจัดการศึกษาของผู้สอนเพื่อพัฒนาคนให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถและความประพฤติที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมโดยรวม

34. 1.ความสําคัญของหลักสูตรต่อส่วนรวม หลักสูตรต้องเป็นตัวชี้วัดว่ามีการสอนอะไร เน้นอะไร การเน้นด้านใดย่อมแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของประชากรในด้านนั้นๆ

35. 3.ความสําคัญของหลักสูตร

36. 1.ความรู้พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร

37. 2.ความหมายของหลักสูตร

38. 4.องค์ประกอบของหลักสูตร

39. ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตรตามแนวคิดของทาบา(Taba, 1962: 422-423) มี 4 ประการคือ 1.จุดประสงค์ มีความสําคัญมาก เนื่องจากเป็นแนวทางของการเรียนการสอน ทําให้ผู้สอนรู้ว่ามีจุดประสงค์อะไรบ้างในการสอน สอนเนื้อหาอะไร สอนใคร สอนทําไมและมีวิธีการสอนและประเมินผลอย่างไร 2.เนื้อหา สาระของความรู้และประสบการณ์ในการแสวงหาความรู้ตามสาขาวิชานั้นๆ 3.วิธีสอนและการดําเนินการ เป็นการแปลงจุดประสงค์และเนื้อหาของหลักสูตรไปสู่การสอนตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษระตามจุดประสงค์ของหลักสูตร 4.การประเมินผลหลักสูตร เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยประเมินว่าผู้เรียนมีทักษะ เจตคติและคุณลักษณะตามจุดประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ โดยใช้จุดประสงค์เป็นแนวทางหรือเป็นเกณฑ์ในการประเมิน

40. หลักสูตรเป็นมวลประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อนพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้โดยมีองค์ประกอบที่สําคัญสี่ส่วน คือ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา วิธีการจัดประสบการณ์และการประเมินผล

41. มวลประสบการณ์ทั้งหลายซึ่งเป็นแนวทางสําหรับจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนเพื่อพัฒนาให้เขามีคุณลักษณะตามที่สังคมคาดหมายไว้

42. หลักสูตรจะต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนเพื่อที่ผู้สอนจะได้นําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมี 4 องค์ประกอบดังนี้