1. บทที่ 4 ผลของการวิจัย
1.1. ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1.1.1. รายละเอียดเนื้อหา
1.1.2. การนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1.1.3. แบบทดสอบมี 3 ชนิด
1.2. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1.2.1. ตามเกณฑ์ที่กำหนด อย่างน้อย 85/85
1.2.2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสำหรับปรับพื้นฐาน ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพ 73.61/66.98
1.3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1.3.1. ทดสอบด้วยค่าt-test แบบ Dependent Sample Group
1.3.2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 มีค่าที (t-test) เท่ากับ6.68
1.4. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และนักศึกษาสาขา วิชาอื่น ๆ (การบัญชีและการขาย)
1.4.1. การทำแบบทดสอบหลังเรียนระหว่างนักศึกษาสาขา วิชาคอมพิวเตอร์และนักศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01
2. บทที่ 1 ความเป็นมา
2.1. ความเป็นมาและความ สำคัญของปัญหา
2.1.1. ความรู้เดิมของผู้เข้ารับการศึกษาจาก สถาบันการศึกษาเดิมไม่เพียงพอ
2.1.2. นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าใจ ในเนื้อหาที่ผู้สอนได้กล่าวถึง
2.1.3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ
2.1.4. การเรียนการสอนขาดประสิทธิภาพและไม่เป็นไปตาม มาตรฐานที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
2.2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.2.1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.2.2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน
2.2.3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และนักศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ
2.3. สมมติฐานการวิจัย
2.3.1. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.3.2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา หลังเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.3.3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชา คอมพิวเตอร์และนักศึกษาสาขาวิชา อื่น ๆ หลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.4. ขอบเขตของการวิจัย
2.4.1. เนื้อหาที่ใช้ในการทดลองเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวกับ พื้นฐานความรู้เบื้องต้นทางด้านคอมพิวเตอร์
2.4.2. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักศึกษาใหม่ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (หลักสูตร 2 ปี)
2.4.3. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 1 สัปดาห์
2.5. คำจำกัดความในการวิจัย
2.5.1. บปเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.5.2. ผู้สอบผ่าน
2.5.3. แบบทดสอบก่อนเรียน
2.5.4. แบบฝึกหัดระหว่างบทเรียน
2.6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2.6.1. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ
2.6.2. จะทำให้นักศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ (การบัญชีและการขาย) มีพื้นฐานความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์สูงขึ้น
3. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ
3.1. สรุปผลการวิจัย
3.1.1. ผลสำรวจแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
3.1.2. ผลสำรวจแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค
3.1.3. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3.1.4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา หลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3.1.5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชา คอมพิวเตอร์และนักศึกษาสาขาวิชา อื่น ๆ (การบัญชีและการขาย)
3.2. อภิปรายผลการวิจัย
3.2.1. พิจารณาเรื่องประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3.2.2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียน
3.2.3. ในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
3.3. ข้อเสนอแนะ
3.3.1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการผลการวิจัย
3.3.2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
4. บทที่ 2เอกสารและ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง
4.1. หลักสูตรวิชาพื้นฐานความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์
4.1.1. จุดมุ่งหมายรายวิชา
4.1.2. คำอธิบายรายวิชา
4.2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.2.1. ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.2.2. ลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.2.3. ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.2.4. ส่วนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.2.5. ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.3. การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ตามแนว ทางคอมพิวเตอร์ศึกษา
4.3.1. ลักษณะของการประเมินผลบทเรียน
4.3.2. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนและผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
4.4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.4.1. ผลงานวิจัยภายในประเทศที่เกี่ยวข้อง
4.5. การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
4.5.1. การประเมินผลระหว่างดำเนินการ
4.5.2. การประเมินผลสรุป
4.5.3. การสรุปผล
4.5.4. การยอมรับขั้นสุดท้าย
5. บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
5.1. ศึกษาข้อมูล
5.1.1. วิชาการใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
5.1.2. วิชาโปรแกรมสำเร็จรูป1
5.2. กำหนด แบบแผนการทดลอง
5.2.1. การวิจัยเชิงทดลอง
5.2.2. แผนการทดลองโดยใช้รูปแบบ One-Group Pretest-Posttest Design
5.3. กำหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5.3.1. นักศึกษาใหม่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (หลักสูตร 2 ปี)
5.4. สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
5.4.1. แบบทดสอบ
5.4.2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
5.4.3. แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
5.5. ดำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
5.5.1. ให้ผู้เรียนทุกคนลงทะเบียน
5.5.2. ให้ผู้เรียนทุกคนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pretest)
5.5.3. ผู้วิจัยได้ทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม
5.5.4. หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
5.5.5. หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังการเรียน
5.5.6. ทำการสรุปผลและจัดทำรายงานการวิจัย
5.6. วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
5.6.1. วิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ
5.6.2. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน