1. หน้าที่ของสังคม
1.1. ผลิตและกระจายสินค้าต่างๆ แก่สมาชิกของสังคม
1.2. ผลิตสินค้าใหม่ของสังคม
1.3. สร้างและรักษาระเบียบกฏเกณฑ์ของสังคม
1.4. สร้างความรู้สึกมั่นคงทางจิตใจของสมาชิก
1.5. ให้การศึกษาอบรมและถ่ายทอดวัฒนธรรมแก่สมาชิกใหม่
2. วัฒนธรรม
2.1. หมายถึง สิ่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นผลรวมของแบบแผนในการดำรงชีวิตโดยเกิดจากการเรียนรู้ สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น
2.2. ประเภทของวัฒนธรรม
2.2.1. ที่เป็นวัตถุ
2.2.1.1. เครื่องนุ่งห่ม
2.2.1.2. ที่อยู่อาศัย
2.2.1.3. ยานพาหนะ
2.2.2. ที่ไม่ใช่วัตถุ
2.2.2.1. ความเชื่อทางศาสนา
2.2.2.2. จริยธรรม
2.2.2.3. อุดมการณ์
2.3. ลักษณะของวัฒนธรรม
2.3.1. เป็นสิ่งที่ได้มาโดยการเรียนรู้
2.3.2. เป็นมรดกทางสังคม
2.3.2.1. วัฒนธรรมจะต้องมีการสอน
2.3.3. เป็นวิถึชีวิตหรือแบบของการดำรงชีวิต
2.3.4. เป็นสิ่งที่ไม่มั่นคง
2.4. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
2.4.1. การมีพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
2.4.2. การมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
2.4.3. มีอักษรไทยและภาษาไทยเป็นของตัวเอง
2.4.4. ศิลปกรรมของไทย
2.4.4.1. วรรณคดี
2.4.4.1.1. ขุนช้างขุนนแผน
2.4.4.1.2. พระอภัยมณี
2.4.4.2. ดนตรี
2.4.4.2.1. วงปี่พาทย์
2.4.4.2.2. วงเครื่องสาย
2.4.4.2.3. วงมโหรี
2.4.4.3. จิตรกรรม
2.4.4.3.1. ภาพตามผนังโบถส์
2.4.4.4. ประติมากรรม
2.4.4.4.1. ช่อฟ้า
2.4.4.4.2. บัวหัวเสา
2.4.4.5. สถาปัตยกรรม
2.4.4.5.1. ปราสาท
2.4.4.5.2. วัง
2.4.4.5.3. วิหาร
2.4.5. ประเพณีไทย
2.4.5.1. การบวช
2.4.5.2. การแต่งงาน
2.4.5.3. การตาย
2.4.5.4. สงกรานต์
2.4.5.5. เข้าพรรษา
2.4.6. มีความสุภาพอ่อนน้อมและรู้จักปรับตัวให้เข้ากับสังคม
2.4.7. ดำเนินชีวิตแบบเรียบง่าย
2.5. ปัญหาทางสังคม
2.5.1. ความล้าหลังทางวัฒนธรรม
2.5.2. การตื่นตระหนกทางวัฒนธรม
2.5.3. การมีอคติต่อวัฒนธรรมของสังคมอื่น
2.5.4. ช่องว่างทางวัฒนธรรม
2.6. อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อสังคม
2.6.1. กำหนดรูปแบบสถาบันครอบครัว
2.6.2. กำหนดแบบแผนความประพฤติ
2.6.3. ควบคุมสังคม
2.6.4. สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม
2.6.5. กำหนดรูปแบบของที่อยู่อาศัย
2.6.6. กำหนดชนิดของอาหารที่รับประทาน
2.6.7. เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
3. หมายถึง กฏ ข้อระเบียบ แบบแผน ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
4. ประเภทของสังคม
4.1. แบบปฐมภูมิ
4.1.1. มีความเป็นอยู่เรียบง่าย
4.1.1.1. ทำการเกษตร ล่าสัตว์ จับปลา
4.1.2. สมาชิกรู้จักกันทั่วถึง
4.1.3. มีฐานะความเป็นอยู่คล้ายกัน
4.2. แบบทุติยภูมิ
4.2.1. สังคมชาวเมือง
4.2.1.1. ประกอบอาชีพต่างกันตามความถนัด
4.2.1.2. ติดต่อกันอย่างผิวเผิน
4.2.1.3. มีกฏเกณฑ์ข้อบังคับ
5. ความหมายทางสังคม
5.1. คือ คนทุกเพศทุกวัยที่อยู่รวมกัน โดยมีอาณาเขตที่แน่นอนเป็นระยะเวลานาน
6. การจัดระเบียบทางสังคม
6.1. องค์ประกอบสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
6.1.1. บรรทัดฐาน
6.1.1.1. หมายถึง กฏเกณฑ์ แบบแผนทางพฤติกรรมที่คาดหวังให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในสถานการณ์หนึ่งๆ
6.1.1.2. ประเภทของบรรทัดฐาน
6.1.1.2.1. วิถึประชา
6.1.1.2.2. จารีต
6.1.1.2.3. กฏหมาย
6.1.1.2.4. บรรทัดฐานประเภทอื่น
6.1.1.2.5. บรร่ทัดฐานกับการควบคุมทางสังคม
6.1.2. สถานภาพ
6.1.2.1. หมายถึง ตำแหน่งที่ได้จากการเป็นสมาชิกของกลุ่มหรือสังคม
6.1.2.1.1. ประเภทของสถานภาพ
6.1.2.1.2. ลักษณะทั่วไปของสถานภาพ
6.1.3. บทบาท
6.1.3.1. หมายถึง การกระทำตามสิทธิและหน้าที่ของสถานภาพ
6.1.3.2. ลักษณะทั่วไป
6.1.3.2.1. บทบาทหลายบทบาทจะอยู่ในบุคคลคนเดียวกัน
6.1.3.2.2. บทบาทจะเปลี่ยนแปลงตามสภาวะของสังคม
6.1.3.2.3. บทบาทอาจขัดแย้งกันได้
7. ค่านิยม
7.1. หมายถึง สิ่งที่คนสนใจ และกลายมาเป็นสิ่งที่คนถือว่าต้องทำ เป็นสิ่งที่คนบูชายกย่อง
7.2. ชนิดของค่านิยม
7.2.1. ค่านิยมทางวัตถุ
7.2.1.1. อาหาร
7.2.1.2. เครื่องนุ่งห่ม
7.2.2. ค่านิยมทางสังคม
7.2.2.1. ช่วยให้เกิดความรักความเอื้ออาทรต่่อกัน
7.2.3. ค่านิยมทางความจริง
7.2.3.1. ความเป็นจริงในปัจจุบัน
7.2.3.1.1. การอ่านหนังสือพิมพ์
7.2.3.1.2. ดูโทรทัศน์
7.2.4. ค่านิยมทางจริยธรรม
7.2.4.1. มีความรับผิดชอบ
7.2.5. ค่านิยมทางสุนทรียภาพ
7.2.5.1. .ซาบซึ้งความดีของบุคคลอื่นและสิ่งต่างๆ
7.2.6. ค่านิยมทางศาสนา
7.2.6.1. การมีความสุขทางจิต
7.3. ค่านิยมที่ควรปฎิบัติ
7.3.1. การพื่งตนเอง
7.3.2. การประหยัดและการออม
7.3.3. การมีระเบียบวินัยและเคารพกฏหมาย
7.3.4. การปฎิบัติตามคุณธรรมทางศาสนา
7.3.5. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์