บทที่ 8 การวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร

Track and organize your meetings within your company

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 8 การวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร by Mind Map: บทที่ 8 การวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร

1. องค์ประกอบในการศึกษา TA

1.1. 1.สภาวะแห่งตน (Ego States)

1.1.1. 1.1 สภาวะความเป็นพ่อแม่(P)

1.1.1.1. 1.1.2 สภาวะความเป็นพ่อแม่เมตตา (NP)

1.1.1.2. 1.1.3 สภาวะความเป็นพ่อแม่ติเตียน (CP)

1.1.2. 1.2 สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ (A)

1.1.2.1. เช่น เลี้ยงลูกให้คิดเอง ทำเอง

1.1.3. 1.3 สภาวะความเป็นเด็ก (C)

1.1.3.1. 1.3.1 สภาวะความเป็นเด็กตามธรรมชาติ (NC)

1.1.3.1.1. เช่น ร่าเริง สนุกสนาน ไม่มีความกังวลใดๆเลย

1.1.3.2. 1.3.2 สภาวะความเป็นเด็กสร้างสรรค์ (LP)

1.1.3.2.1. จะเป็นผู้ที่มีความอยากรู้ อยากเห็น อยากทดลอง

1.1.3.3. 1.3.3 สภาวะความเป็นเด็กปรับตัว (AC)

1.1.3.3.1. เป็นพฤติกรรมที่เป็นไปตามบุคคลใกล้ชิด

1.2. 2.ความเอาใจใส่ (Stroke)

1.2.1. : การทำอะไรสักอย่างแล้วมีคนหันมาให้ความสนใจ

1.2.1.1. ทางบวก : การแสดงออกที่ทำให้ผู้อื่นมีความสุข

1.2.1.1.1. ความเอาใจใส่แบบไม่มีเงื่อนไข

1.2.1.2. ทางลบ : สร้างปัญหาให้บุคคลที่เขาต้องการให้สนใจตำหนิ ติเตียน

1.3. 3.การติดต่อสื่อสาร (Transactions)

1.3.1. 3.1 แบบคล้อยตาม

1.3.1.1. สนทนาเป็นไปตามความคาดหมายของกันและกัน

1.3.2. 3.2 แบบขัดแย้ง

1.3.2.1. อาจทำให้ความสัมพันธ์หยุดชะงัก เพียงชั่วขณะหนึ่ง หรืออาจจะหยุดเลย

1.3.3. 3.3 แบบซ่อนเร้น

1.3.3.1. 3.3.1 ทางเดียว

1.3.3.1.1. คือการติดต่อสื่อสารที่ผู้พูดหรือผู้ฟังแบบซ่อนความจริงเอาไว้

1.3.3.2. 3.3.2 สองทาง

1.3.3.2.1. คือการติดต่อสื่อสารที่ทั้งผู้พูดและผู้ฟังแบบซ่อนความจริงเอาไว้

1.4. 4.จุดยืนแห่งชีวิต (Life Position) หรือทัศนะชีวิต

1.4.1. 4.1 ฉันดี - คุณดี

1.4.1.1. จุดยืนของผู้ชนะ

1.4.2. 4.2 ฉันดี - คุณด้อย

1.4.2.1. จุดยืนของผู้ขจัด

1.4.3. 4.3 ฉันด้อย - คุณดี

1.4.3.1. จุดยืนของผู้หลีกหนี

1.4.4. 4.4 ฉันด้อย - คุณด้อย

1.4.4.1. จุดยืนของผู้แพ้

1.5. 5.บทแสดงหรือลิขิตชีวิต (Life Script)

1.5.1. แบบแผนที่บุคคลแสดงออกซ้ำแล้วซ้ำเล่า เพียงแต่เปลี่ยนสถานที่ เวลา ที่ถูกวางมาตั้งแต่เด็ก จนกลางเป็นลักษณะเฉพาะ

2. ความหมายของ TA

2.1. การวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล ตั้งแต่ 2 คน ไปจนถึงกลุ่มใหญ่

2.2. Berne : กล่าวว่า การสื่อสารที่เปิดเผยและจริงใจมากที่สุด โดยใช้ EQ และ IQ

3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา TA

3.1. 1.ช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมของตนเอง

3.2. 2.ช่วยให้ติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.3. 3.ช่วยให้ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลง่ายขึ้น

3.4. 4.ช่วยในการแก้ปัญหา

3.5. 5.ช่วยให้ทีมงานมีประสิทธิภาพ

3.6. 6. ง่ายที่จะศึกษาและทำความเข้าใจ

4. แนวคิดเกี่ยวกับ TA

4.1. พฤติกรรมสืบเนื่องมาจากประสบการณ์วัยเด็ก

4.2. ทฤษฏีจิตวิทยา

4.2.1. เบิร์นศึกษาจากคนไข้ที่ผิดปกติทางจิต

4.2.2. ซิกมันด์ ฟรอยด์ : นักสะกดจิต