
1. การผลิตและพัฒนาครู
1.1. เพื่อส่งเสริมการศึกษา 4.0
1.1.1. 1) ครูต้องมีความรู้
1.1.2. 2) ครูต้องจัดการเรียนรู้
1.1.3. 3) ครูต้องมีความเป็นครู
1.1.4. 4) ครูต้องมีความสัมพันธ์กับชุมชน
1.2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1.2.1. ระยะ 1 การเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเป็นนิสิต/นักศึกษาครู
1.2.2. ระยะ 2 การฝึกภาคปฏิบัติระหว่างการเป็นนิสิต/นักศึกษาครู
1.2.3. ระยะ 3 การพัฒนาครูประจำการหลังจากสำเร็จการศึกษา
1.2.4. เน้นพัฒนาครูให้เกิดกระบวนทัศน์ใหม่ ให้มองโลกแบบองค์รวม (Wholism) และ ใช้ IT-Based Learning
1.3. ข้อเหมือน
1.3.1. เน้นพัฒนาครูให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิตอล (digital technology) ตรงตามความต้องการของประเทศ
1.4. ข้อแตกต่าง
1.4.1. การผลิตและพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 จะเน้นการประยุกต์ใช้ กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา ให้ครูไทยยุคใหม่มีสมรรถนะ ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
2. การศึกษาในศตวรรษที่ 21
2.1. เน้นจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมี หลักการพื้นฐานสำคัญ 4 ประการ
2.1.1. 1) การรู้เกี่ยวกับยุคดิจิทัล (Digital Age Literacy)
2.1.2. 2) การคิดสร้างสรรค์(Inventive Thinking)
2.1.3. 3) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ (Effective Communication)
2.1.4. 4) ผลิตภาพที่มีคุณภาพสูง (High Productivity)
2.2. นำไปสู่การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัล
2.2.1. 1. การเปลี่ยนรูปของการศึกษา (Educational Transformation)
2.2.2. 2. การดํารงอยู่ของสถานศึกษา (School Stability)
2.2.3. 3. การตอบสนองความก้าวหน้าของเทคโนโลยี (Technology Advancement)
2.2.4. 4. การสร้างสถานการณ์จําลอง (Simulation)
2.2.5. 5. การจัดการเรียนการสอน (Instruction)
2.2.6. 6. การเรียนรู้โลกแห่งดิจิทัล (World Digital Learning)
2.3. ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ควรมีทักษะ เพื่อความอยู่รอดที่สำคัญ 7 ประการ
2.3.1. 1) มีทักษะการคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา 2) มีทักษะการทำงานร่วมกันผ่านเครือข่าย และการนำผู้อื่นโดยอิทธิพล 3) มีทักษะความคล่องแคล่วและสามารถปรับตัว 4) มีทักษะการริเริ่ม และการเป็นผู้ประกอบการ กล้าคิดกล้าทำ 5) มีทักษะการสื่อสารโดยการพูดและการเขียนที่มี ประสิทธิผล 6) มีทักษะการเข้าถึงและการวิเคราะห์สารสนเทศ 7) มีทักษะความเป็นผู้อยากรู้อยากเห็นและมีจินตนาการ
3. การศึกษา 4.0
3.1. ข้อเหมือน
3.1.1. 4.0 มีแนวคิดหลัก คือ เน้นการสร้างผลผลิต และสร้าง/พัฒนานวัตกรรม
3.1.1.1. กลุ่ม CCPR
3.1.1.2. กลุ่ม Leapfrog
3.1.1.3. กลุ่ม Industry 4.0
3.1.2. 4.0 ที่เน้น Value-Based Economy นำไปสู่ จัดการศึกษาที่ยึดคุณค่าเป็นฐาน (Value-Based Education)
3.1.3. สี่เสาหลักการศึกษา 4.0
3.1.3.1. Invention
3.1.3.2. Innovation,
3.1.3.3. Imagination
3.1.3.4. Production
3.2. มุมมองใหม่
3.2.1. Value-Based Economy นั้นมุ่งแต่ผลิตผลอุตสาหกรรม การศึกษาไทยจึงอาจต้องคำนึงยึดคุณค่าในสิ่งที่ทำมากกว่าผลกำไรหรือการเพิ่มมูลค่าของการผลิต เพื่อเลี่ยงการวนเวียนอยู่กับพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเดียวจนละเลยความเป็นอยู่ของเพื่อนมนุษย์ ความสุข และการอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรของโลกเพิ่มเติมด้วย
4. นวัตกรรมการศึกษา
4.1. โสตทัศนะศึกษา
4.1.1. การเรียนรู้หรือประสบการณ์ทางการศึกษา ซึ่งผู้เรียนรับรู้ โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า
4.2. นวัตกรรมการศึกษา
4.2.1. คือ การนําเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิด/การกระทํา/สิ่งประดิษฐ์ มาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้การจัดการศึกษา มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว เกิดแรงจูงใจ ประหยัดเวลา
4.2.1.1. ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
4.2.1.2. ระยะที่ 2 มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทําอยู่ในลักษณะ ของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
4.2.1.3. ระยะที่ 3 การนําเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์
4.3. เทคโนโลยีการศึกษา
4.3.1. คือ การประยุกต์หลักการวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์ ให้เป็นวัสดุ เครื่องมือ อุปกรณต่างๆ ที่สามารถนํามาใช้ในการเสนอ แสดง/ถ่ายทอดเนื้อหาทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ