หลักการออแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e - Learning coursware) ทางการศึกษา

Find the right structure and content for your course and set up a syllabus

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักการออแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e - Learning coursware) ทางการศึกษา by Mind Map: หลักการออแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e - Learning coursware) ทางการศึกษา

1. หลักการพื้นฐานในการออกแบบ บทเรียนอิเล้กทรอนิกส์ทางการศึกษา

1.1. คอร์สแวร์ (Courseware)

1.1.1. หลักการออกแบบ

1.1.1.1. หลักการมัลติมีเดีย (Multimedia principle)

1.1.1.2. หลักการแยกความสนใจ (split - Attention principle)

1.1.1.3. หลักการประสาทสัมผัส (Modality principle)

1.1.1.4. หลักการความซ้ำที่ไม่จำเป็น (Redundancy principle)

1.1.2. หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บทเรียนมีประสิทธิภาพ

1.1.2.1. Chickering and Gamson's 7 principles for good practice in undergraduate education

1.1.2.1.1. Encourages contacts between students and faculty.

1.1.2.1.2. Develops reciprocity and cooperation among students.

1.1.2.1.3. Uses active learning techniques. (a.k.a. "Encourages active learning")

1.1.2.1.4. Gives prompt feedback.

1.1.2.1.5. Emphasizes time on task.

1.1.2.1.6. Communicates high expectations.

1.1.2.1.7. Respects diverse talents and ways of learning.

1.1.2.2. Gagne’s Nine Event of Instructio

1.1.2.2.1. 1. การกระตุ้นความสนใจ (Gain attention)

1.1.2.2.2. 2. แจ้งวัตถุประสงค์ให้กับผู้เรียน(Inform learners of objectives)

1.1.2.2.3. 3. กระตุ้นให้ระลึกความรู้เดิม (Stimulate recall of prior learning)

1.1.2.2.4. 4. การนำเสนอเนื้อสาระ (Present the content)

1.1.2.2.5. 5. การให้คำแนะนำในการเรียนรู้ (Provide”learning guidance)

1.1.2.2.6. 6. การแสดงความสามารถ (Elicit performance (practice))

1.1.2.2.7. 7. การให้ข้อมูลป้อนกลับ (Provide feedback)

1.1.2.2.8. 8. การประเมินผล (Assess performance)

1.1.2.2.9. 9. ส่งเสริมความคงทนในการจำและถ่ายโอนความรู้ไปสู่งานได้(Enhance retention and transfer to the job

1.1.3. Learning Object

1.1.3.1. สื่อการสอนที่มีขนาดเล็ก

1.1.3.2. ลดปัญหาขนาดของไฟล์

1.1.3.3. สามารถนำกลับมาใช้ใหม่

1.1.3.4. เรียงเนื้อหาใหม่ เกิดบทเรียนใหม่

1.1.3.5. องค์ประกอบ

1.1.3.5.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.1.3.5.2. หน่วยการเรียน

1.1.3.5.3. แบบทดสอบ

2. หลักการเพิ่มเติมสำหรับการออกแบบ บทเรียนอิเล้กทรอนิกส์ทางการศึกษา

2.1. การประยุกต์ใช้หลักการแยกความสนใจ (split - Attention principle)

2.2. การประยุกต์ใช้หลักการประสาทสัมผัส (Modality principle)

2.3. การประยุกต์ใช้หลักการความซ้ำที่ไม่จำเป็น (Redundancy principle)

2.3.1. ความแตกต่างที่รูปแบบการนำเสนอข้อมูลที่เหมือนกัน

2.3.2. การเพิ่มรายละเอียดที่เกินความจำเป็นลงไป

2.4. การประยุกต์ใช้หลักการมัลติมีเดีย (The Multimedia Principle)

2.4.1. หลักการที่ว่าด้วยความต่อเนื่อง

2.4.2. หลักการที่ว่านำสื่อประสมที่นอกประเด็นมาใช้

2.4.3. การออกแบบ E-Learning Couresware

3. งานวิจัยและวรรณกรรมที่สนับสนุนการใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน

3.1. จินตวีร์ มั่นสกุล

3.2. Mayer

3.2.1. การเรียนรู้ในหนังสือ

3.2.2. การเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์

3.2.3. การเรียนรู้จากภาพเคลื่อนไหว

3.3. http://edutube.org/es