1. Main-System
1.1. 1) Mindset factor (Passion)
1.1.1. Passion จะเป็นเกาะกำบังให้เรา ไม่ หยุด และท้อถอย
1.1.2. ทั้งหมดจะไม่เกิดขึ้นถ้า ไม่ปล่อยวางผลลัพธ์ ฝึกใจว่างบริหารอารมณ์ทั้งสองด้าน (รวยเร็ว-รวยช้า)(สุข-ทุกข์)(ชอบ-ไม่ชอบ) (กล้า-กลัว)(สมบูรณ์แบบ-ไม่สมบูรณ์แบบ) *โพกัสที่การเรียนรู้ที่ถูกต้องกระบวนการที่มั่นคง ตามเป้าหมาย (ข้อ 1)
1.1.3. ไม่มีความสำเร็จใด ที่จะไม่ใช้ความพยายามและเวลา
1.1.4. ความสำเร็จเกิดขึ้น 2 ครั้ง
1.1.4.1. ครั้งที่ 1 เกิดขึ้นในใจ
1.1.4.2. ครั้งที่ 2 เกิดขึ้นในชีวิตจริง
1.1.5. มอง ที่ปิดความเสี่ยง ก่อน กำไร
1.2. 2) Fix factor (Environment) (f(x1))
1.2.1. มีระบบหลักที่ generate cashflow ที่มั่งคง
1.2.1.1. 1.1 การเฟ้นหาปัญหาและอุปสรรคที่เป็นตัวการขัดขวางทางไปสู่เป้าหมาย(มั่งคง) อย่างครอบคลุม และ กล้าเผชิญหน้ากับความเป็นจริง อันน่ากระอักกระอ่วน โดยไม่ยอมทนปัญหาและอุปสรรคเหล่านั้น
1.2.1.2. 1.2 เจอปัญหา แก้ด้วย 5 Step Process
1.2.1.2.1. 1.Goals (การตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน)
1.2.1.2.2. 2.Problems (การเฟ้นหา ปัญหา)
1.2.1.2.3. 3.Diagnosis (แก่นแท้ ปัญหา)
1.2.1.2.4. 4.Design (ออกแบบแผนงานแก้ปัญหา)
1.2.1.2.5. 5.Do It (ทำมันจนสำเร็จ!) โดยสร้าง “To do list”
1.2.1.3. 1.3 ระบบนั้นเกิดจากความรู้
1.2.1.4. 1.4 ความรู้นั้น(ต้องเป็นสัจจะนิรันดร์ทุกอย่างมีระบบกฎซ่อนอยู่)
1.2.1.5. 1.5 ความรู้จริง เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ทฤษฎีกับปฏิบัติเหมือนโลกคนละใบ
1.2.1.6. 1.6 เรียนรู้ให้เร็วที่สุด ผิดพลาดให้เยอะ แต่เสียเงินให้น้อยที่สุด
1.2.1.7. 1.7 ความผิดพลาด อยู่ในขบวนการ หาสัจจะนิรันดร์
1.2.1.8. 1.8 เรียนรู้เยอะๆ และลงมือทำ เก็บเอา Feedback จากข้อผิดพลาดกลับมา พัฒนาตัวเอง
1.2.1.9. 1.9 ถ้ากระบวนการถูกต้อง ความกดดันจะน้อยลง และผลลัพธ์จะตามมา จะเข้าใกล้สัจจะนิรันดร์
1.2.1.10. 1.10 ทุกอย่าง มีระบระเบียบกฎเกณฑ์ซ่อนแม้ดูเหมือนสุ่มหรือไร้ระเบียบก็ตาม สิ่งเหล่านั่นเป็นสัจนิรันดร์ความจริงสุดท้ายที่ออกมาเป็นจริงเสมอ เพียงแค่ต้องหามันให้เจอ
1.3. 3) Variable factor (Action) (f(x2))
1.3.1. Leverage
1.3.1.1. พลัง Leverage ขยายจาก Environment ระบบหลักที่มั่นคง
1.3.1.2. Leverage เช่น (labor,capital,coding,media)
1.4. Fix > Buffer > Free.Cash.Flow
2. หัวใจหลักของทุนนิยม
2.1. เงิน = คือแรงจูงใจการทำประโยชน์ให้คนอื่น เงินเลยต้องมีค่าและหายาก และจะไม่อยู่กับคนส่วนมาก
2.2. M > C > M*
2.3. M แรกคือเงิน(ลงทุน) > C คือสินค้า (Commodity) > M* คือเงิน(ทุนส่วนเกิน)ภายหลัง
3. 1) (Goal = มั่งคง) Principle for Trading
3.1. ตั้งคำถามเฟ้นหาปัญหาและอุปสรรคที่เจ็บปวดทุกสิ่ง เป็นตัวการขัดขวางทางไปสู่เป้าหมาย (มั่งคง) เป็นสัจนิรันดร์ ครอบคลุม 3 ด้านหลักๆ (ทุน - สินค้า - กำไร) ทำให้เกิดการทบต้นทางความรู้
3.1.1. Mindset factor ( Goal ( END = (C>R) > G) & Emotion(ใจว่าง) & ลงมือปฏิบัติ ( START= ConnectDots_FX ))
3.1.1.1. { Portfolio Structure = โครงสร้างหลัก }
3.1.1.1.1. f(x1) = Fix > Buffer > Free.Cash.Flow & Leverage
3.1.1.2. { Money Management = การบริหารจัดการเงินทุน }
3.1.1.2.1. f(x1) = Rebalance
3.1.1.2.2. f(x2) = Delta Neutral
3.1.1.2.3. f(x3) = Risk Per Trade(Static)
3.1.1.2.4. f(x4) = Time Based
3.1.1.2.5. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.3. { 3 Step Process Select Product }
3.1.1.3.1. Intrinsic_Value(คุณค่าสิ่งนั้นอยู่ที่ไหน) = (Future_Cash_Flows_เท่านั้น)
3.1.1.3.2. f(x1) = Fact.Back( Use_Value , จะล้มลายกี่ปี ) + Look.Forward(Delta_Price , จะคืนทุนกี่ปี) + Cycle (Premium & Discount)
3.1.1.3.3. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.4. { Exit Model Process }
3.1.1.4.1. ฺf(x1) = ค่า Select.Product ต่ำ
3.1.1.4.2. f(x2) = เกิด Bridge
3.1.1.4.3. f(x3) = เป็น Spotlight ใจเต้นแรงเห็นกำไร (ระบบเหตุผล)
3.1.1.4.4. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.5. { Adjust Portfolio = การปรับพอร์ตลงทุน }
3.1.1.5.1. ฺf(x1) = Bridge
3.1.1.5.2. f(x2) = Max.Delta(Decision.Tree(np.random.seed() return 0,1))
3.1.1.5.3. f(x3) = Static (เปอร์เซ็นต์ % , Target.Value )
3.1.1.5.4. f(x4) = Time Based Adjust
3.1.1.5.5. f(x5) = ระบบคนตั้งสินใจยนับเป็น f(x) (human)
3.1.1.5.6. f(x6) = Dynamic_fx (f(x1) , f(x2) , f(x3))
3.1.1.5.7. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.6. { การหาส่วนเกินทุนของระบบ (Delta) }
3.1.1.6.1. f(x1) = ส่วนเกินทุน(Cash.Flow) = ( Delta - Capital.Line )
3.1.1.6.2. f(x2) = ส่วนเกินทุน / เปอร์เซอร์ราคาขึ้นลง = ((Fixed_Asset_Value คงเหลือปัจจุบัน) - ส่วนเกินทุน ) = CF
3.1.1.7. { การตีมูลค่า Premium & Discount ผ่านมุมมองมาร์กซิสต์ }
3.1.1.7.1. ต้องมี"คุณค่า"ก่อนมี "มูลค่า" + @ราคา
3.1.1.7.2. f(x1) Reflexivity (Value vs Price) + มาร์กซิสต์
3.1.1.7.3. Value + Price = ราคาตลาด แต่ (ราคาตลาด != Value) และ Value มักมองไม่เห็นต้องประเมินเอง
3.1.1.7.4. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.8. { การเกิด Cycle_Market ของระบบ }
3.1.1.8.1. fx(1) = Cycle_Step คาดหวัง vs เจ็บปวด ( ตลาดมี 2 ช่วง 1.Delta/Zone สูง 2. Delta/Zone ต่ำ) ปรับ f(x) ให้เหมาะสม
3.1.1.8.2. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.9. { การใช้ Limit หา performance ของระบบ }
3.1.1.9.1. f(x1) = เข้าใกล้ Max Limit(สิ่งที่ให้ผลตอบแทนสูงสุด) > ระบบดี & เข้าใกล้ low Limit(สิ่งที่ทำได้อยู่แล้ว) > ระบบห่วย
3.1.1.10. { ทุนนิยม 21 ค่า (C , R) > G เป็นสัจนิรันดร์ }
3.1.1.10.1. f(x1) = (C , R) > G การแข่งขันครอบครองทุนและทรัพยากร อดีตจะกินอนาคตเสมอ
3.1.1.10.2. f(x2) = ความเหลื่อมล้ำของค่า R (ทุนที่ใหญ่กว่าจะมีค่า R ที่สูงกว่าเสมอ) Economies of Scale
3.1.1.10.3. f(x3) = อย่าทำลายทุนตัวเอง C และ ส่วนเกินทุนค่า R นั้นห้ามกินเกินค่า G จะทำให้วงค์ตระกูลเราไม่ตกชั้นแล้ว ส่งต่อทุนรุ่นสู้รุ่นไป Time
3.1.1.10.4. f(x4) = R ส่วนเกินทุนจากค่า C เกิน ค่า G หรือ CERTAIN THRESHOLICE เลี่ยงไม่ได้ที่จะ "ไม่โต"
3.1.1.10.5. f(x5) = Matthew Effect "คนรวยก็รวยขึ้น คนจนก็จนลง"
3.1.1.11. { Start At The End คือ เริ่มที่จะจบ }
3.1.1.11.1. f(x1) = เราตั้งเป้าหมายเสร็จ เราพยายามเดินไปจุดนั้นโดยใจว่าง อย่าให้อารมณ์มารบกวน สำคัญสุดท้ายต้องลงมือทำ เพราะโลกทฤษฎีกับปฏิบัติเหมือนโลกคนละใบ จะเจอหนทางเองแบบ Connecting The Dots เอง
3.1.1.11.2. Algorithm ทฤษฎีที่ใช้ตอนนี้
3.1.1.12. { Emotions Rebalance (ใจที่เป็นกลาง ) }
3.1.1.12.1. f(x1) = เมื่อเราใจว่าง เราจะจดจ่ออยู่กับกระบวนการปัจจุบัน แล้วประสิทธิภาพจะออกมาดี เราพยายามเดินไปจุดนั้น อย่าให้อารมณ์มารบกวน
3.1.1.13. { ทุนนิยม for Trading }
3.1.1.13.1. f(x1) = เศรษฐศาสตร์แห่งความเป็นจริง ระบบผลประโยชน์(ของคนส่วนน้อย) ทับซ้อนอยู่กับระบบเหตุผล
3.1.1.13.2. f(x2) = หุ้นที่พื้นฐานดีสร้างคุณค่า คือ หุ้นที่เล่นตาม Subset ของกฏระบบทุนนิยมคือ หุ้นที่ สร้างกำไรส่วนเกินทุน CF+ ไม่ใช่สร้างหนี้ทำลายทุน
3.1.1.13.3. f(x3) = ระบบผลประโยชน์(ของคนส่วนน้อย) เป็น วัฏจักร(cycle) เป็น Short-term ช่วงเวลานึงเท่านั้น
3.1.1.13.4. f(x4) = รวย เป็น Short-Term vs มั่งคั่งเป็น Long-term
3.1.1.13.5. f(x5) = อยากรู้ว่าอันไหนเป็นสัจนิรันดร์จริงตามธรรมชาติ ให้ใช้"เวลา"เป็นตัวประเมิน Time kill Probability(Short-term)
3.1.1.13.6. f(x6) = ความเจ็บปวด ตรงข้ามกับ ความคาดหวัง เฟ้นหาความเจ็บปวดขอผู้คนให้เจอที่นั้นมีความมั่งคั่ง
3.1.1.13.7. f(x7) = คนส่วนใหญ่ ขาดทุนเสมอ คนส่วนใหญ่ไม่สามารถกำไรพร้อมได้ ในกฏระบบทุนนิยม
3.1.1.13.8. f(x8) = การเกิด Cycle ตลาดหุ้นเต็มไปด้วยกับดักมากมาย เพราะมีโอกาสทำให้เกิด Cycle ได้ง่ายมากกว่า ภาคธุรกิจ
3.1.1.13.9. f(x9) = VDO พี่ต้านสอนการกลไกเกิด Cycle สะสมดูดของ,แจกจ่ายทุ่มของในระบบทุนนิยม https://www.youtube.com/watch?v=-88U6LIeOHk
3.1.1.14. { Leverage input != output }
3.1.1.14.1. f(y1) = Leverage ( เงินทุน & สินค้า & ขยาย ))
4. 2) (Goal = มั่งคง) Principle for Real Estate
4.1. ตั้งคำถามเฟ้นหาปัญหาและอุปสรรคที่เจ็บปวดทุกสิ่ง เป็นตัวการขัดขวางทางไปสู่เป้าหมาย (มั่งคง) เป็นสัจนิรันดร์
4.1.1. ครอบคลุม 3 ด้านหลักๆ (ทุน - สินค้า - กำไร)
4.1.2. Mindset factor ( Passion & การปล่อยวางผลลัพธ์(ใจว่าง) ลงมือปฏิบัติ)
4.1.2.1. { Portfolio Structure = โครงสร้างหลัก }
4.1.2.1.1. f(x1) = Fix > Buffer > Free.Cash.Flow
4.1.2.1.2. Beta (Fix -System)
4.1.2.1.3. Cash (Buffer-Main-System)
4.1.2.1.4. Alpha (Free-Cash-Flow)
4.1.2.2. { Money Management = การบริหารจัดการเงินทุน }
4.1.2.2.1. f(x1) = Production-Costs / Yield%
4.1.2.3. { Step Process Select Product ( แม่เหล็ก Magnet & ตัว Generator) }
4.1.2.3.1. f(x1) = วิเคราะห์ทำเล หลักการ 6E+1
4.1.2.4. Architecture
4.1.2.4.1. f(x1) = Process Design
4.1.2.5. Construction (การบริหารงานก่อสร้าง)
4.1.2.5.1. f(x1) = หาที่ปรึกษา และ ผู้รับเหมาที่ดี
4.1.2.6. BOQ (Bill of Quantities)
4.1.2.6.1. f(x1) = BOQ from revit
4.1.2.7. Management
4.1.2.7.1. f(x1) = Team Connection and System
5. 3) (Goal = มั่งคง) Principle for SMV
5.1. ตั้งคำถามเฟ้นหาปัญหาและอุปสรรคที่เจ็บปวดทุกสิ่ง เป็นตัวการขัดขวางทางไปสู่เป้าหมาย (มั่งคง) เป็นสัจนิรันดร์
5.2. Mindset factor ( Passion(กูจะเอา) & การปล่อยวางผลลัพธ์(ใจว่าง) & ลงมือปฏิบัติ )
5.2.1. { Portfolio Structure = โครงสร้างหลัก }
5.2.1.1. f(x1) = SMV 8 ข้อ
5.2.1.1.1. 1. มั่นใจ (พลังงาน Masculi-Energy)
5.2.1.1.2. 2. สนุกสนาน (ชิวๆ ฟิวคนรวย) “Abundance Mindset” หรือ “ความรวยทางจิตใจ”
5.2.1.1.3. 3. Pre Selection (เครื่องมือบ่งชี้ของผู้หญิง)
5.2.1.1.4. 4. สถานะทางสังคม (ผู้ชนะในระบบทุนนิยม)
5.2.1.1.5. 5. Social.Connection & Local Preselection (สังคมที่ช่วยส่งเสริม)
5.2.1.1.6. 6. เป้าหมาย (Passion กูจะเอา)
5.2.1.1.7. 7. ปกป้องดูแลทุกคน (เป็นที่พึ่งของทุกคน)
5.2.1.1.8. 8. หล่อเท่ดูดี (MaxLook)
5.2.2. { 5. Step Process SMV}
5.2.2.1. f(x1) = 1. Dis-Qualify & Abundance Mindset 2. Small.Validation.Interview > 3. Respect .Smv > 4. เรา Dominate(Qualify) & เธอ Submissive > 5. Validation > 6. if Dominate : (Validation) Else : (แก้ไข(Respect .Smv) )
5.2.2.1.1. ผู้ชายควรจะเป็นฝ่าย Validation.Interview Check-Up-Smv (Attract vs Chase)
5.2.2.1.2. เมื่อ Smv ชัด ผู้หญิงจะเคารพเราที่ Smv ผู้หญิงต้องให้เรา Dominate เธอ
5.2.2.1.3. ผู้หญิงจะเป็นฝ่าย Submissive
5.2.2.1.4. แล้วค่อยให้เพิ่ม Validation (ความสำคัญ)
5.2.3. Hypergamy
5.2.3.1. f(x1) = (" act superior not equal ")
5.2.3.1.1. ผญ ห้ามเห็นเรา เท่ากัน หรือ ต่ำกว่า
5.2.3.1.2. ให้ทำตัวเหนือกว่าและไม่เท่ากัน ในเชิงความสามารถไม่ใช้ความเป็นมนุษย์
5.2.4. เฟรมแข็งแรง
5.2.4.1. f(x1) = เฟรมแข็งแรงหมายถึง ความหนักแน่นมั่นคงในความคิดเห็นของตัวเอง ไม่สนว่าถูกหรือผิด เหมือนพลังงานที่มากกว่าโน้มน้าวพลังงานที่น้อยกว่า
5.2.4.1.1. เฟรมก็หมายถึงภาพพจน์ที่ออกไป ทัศนคติที่ออกไป ความรู้สึกความหนักแน่นความคิดเห็นของเราที่ออกไปในเรื่องนั้นๆของเราอย่างชัดเจน โดยที่ไม่กลัวขัดกับผู้หญิง ไม่กลัวผิดไม่กลัวถูก
5.2.4.1.2. คนสองคนมาคุยกัน ใครที่เชื่อเรื่องตัวเองพูดมากกว่ากันคนนั้นเป็นคนที่เฟรมแข็งแรง สรุป คนที่มีเฟรมแข็งแรงหมายถึง คนที่เชื่อในความคิดของตัวเองมากกว่า คนที่ยืนหยัดความเชื่อตัวเองมากกว่า ซึ่งเราต้องเป็นคนนั้น เราอย่าไปตามความเชื่อของผู้หญิง ถ้าเราตามความเชื่อของผู้หญิงตามเฟรมเขา เราจะเป็นเฟสที่อ่อนแอ ผู้หญิงจะไม่ชอบโดยสัญชาตญาณทันที
5.2.5. Femini & Masculi
5.2.5.1. f(x1) =
5.2.5.1.1. ความเป็นผู้ชาย ดึงดูดความเป็นผู้หญิง (masculi)
5.2.5.1.2. ความเป็นผู้หญิง ดึงดูด ความเป็นผู้ชาย (femini)
5.2.5.1.3. ผู้หญิง จะถูกผลักจากพลังงานขั้วเดียวกัน อัตโนมัติ (- -)
5.2.5.1.4. ผู้ชาย จะถูกผลักจากพลังงานขั้วเดียวกัน อัตโนมัติ (+ +)
5.2.5.1.5. (femini) & (masculi) เหมือนแม่เหล็ก สองขั้ว +- ดึงดูดกัน
5.2.6. Dis-Qualify
5.2.6.1. f(x1) = เป้าหมายของ dis-qualify คือ ทำให้เธอรู้สึกว่าเราเหนือว่าเธอ แล้วเธอให้อะไรเราไม่ได้ เช่น *sex*
5.2.7. Qualify
5.2.7.1. f(x1) = การกระทำและคำพูดบางอย่าง ที่ให้ผู้หญิงรู้ว่าเรามีมาตรฐาน ไม่ได้ชอบผญที่ความสวยเท่านั้น
5.2.8. การการแลกเปลี่ยนความสัมพันธ์
5.2.8.1. f(x1) = ผู้หญิงกับผู้ชายคบกันที่ผลประโยชน์บางอย่าง
5.2.8.1.1. ผู้หญิงแลกเปลี่ยนด้วยยีนส์ที่ดี
5.2.8.1.2. ผู้ชายแลกเปลี่ยนที่ทรัพยากรและความสัมพันธ์