
1. **อาการแรกรับ** refer มาจากโรงพยาบาลดอกคำใต้ ผู้ป่วป่วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง E4V5M6 pupil 2 mm. motor power grade 5 มีอาการปวดชายโครงซ้าย pain score 8 คะแนน On ICD 2 ขวด Workดี ไม่มีContent แรกรับที่โรงพยาบาลพะเยา เวลา 19:05 น. ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี E4V5M6 ได้ทำการCXR สัญญาณแรกรับ T=36.9องศา,P=52 ครั้ง/นาที,R=18 ครั้ง/นาที,BP = 147/84 mmHg E4V5M6 มีแผล Abrasion wound ตามตัว consult ortho on arm sling จัดท่านอนหัวสูง 30 องศา แพทย์ให้ admit ศัลยกรรมชาย ให้เจาะCBC,BUN,Cr,E'lyte,Coag,LFT เจาะ DTX 98 % NSS 1000 ml v 80 cc/hr on ICD NO.28 mask 13 CXR รพ.พะเยา at ER EKG 12 lead at ER consult med เสียง Sinus bradycardia -> Syncope
2. **ข้อมูลผู้ป่วย**
2.1. ผู้ป่วยชายไทย อายุ 64 ปี หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย **การวินิจฉัยโรค** Cfx Lt 6th - 9th rib c Lt pneumothorax (Closed fracture left 6th-9th rib with Left pneumothorax กระดูกซี่โครงซี่ที่ 6-9 หักแบบปิดและมีภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดข้างซ้าย) **การผ่าตัด** - **วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล** 18 พฤษภาคม 2567 **วันที่รับไว้ในการดูแล** 22 พฤษภาคม 2567 **อาการสำคัญ** วูบ หน้ามืด ล้มลง ชายโครงข้างซ้ายกระแทกขอนไม้ ปวดชายโครงซ้ายมีรอยรั่ว Refer มาจาก รพช.ดอกคำใต้ **ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน** 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลขณะกำลังทำสวน วูบ หน้ามืด ล้มลงตัวด้านซ้ายกระแทกขอนไม้ มีรอยช้ำ เจ็บชายโครงซ้ายมีรอยรั่ว รับการรักษาที่รพช.ดอกคำใต้ วินิจฉัยโรคขั้นต้นMultiple Lt rib fracture c pneumothorax ส่งตัวมารักษาต่อที่โรงพยาบาลพะเยาเนื่องจากเกินศักยภาพ ขาดอุปกรณ์และเครื่องมือ โดย On ICD 2 ขวด no content 3ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล แรกรับที่ ER โรงพยาบาลพะเยา Vital Sign T= 36.4 C ,BP= 139/69 mmHg.,P=52 ครั้ง/นาที,R=18 ครั้ง/นาที SpO2 98 % **ประวัติเจ็บป่วยในอดีต** ปฏิเสธการเจ็บป่วยในอดีต **อาการปัจจุบัน** ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง ไม่หายใจเหนื่อยหอบ on ICD 2 ขวด no content Workดี
3. **ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล**
3.1. 1.ผู้ป่วยมีภาวะการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีภาวะกระดูกซี่โครงหักร่วมกับมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
3.1.1. ข้อมูลสนับสนุน
3.1.1.1. S= ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเข้าไม่สุด รู้สึกหายใจไม่ทั่วท้อง O= ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยเล็กน้อย หายใจตื้น
3.1.2. วัตถุประสงค์
3.1.2.1. ผู้ป่วยหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ ทางเดินหายใจโล่ง และได้รับ ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
3.1.3. เกณฑ์การประเมินผล
3.1.3.1. ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ SpO2 > 96 %
3.1.4. กิจกรรมการพยาบาล
3.1.4.1. 1. ประเมินภาวะการหายใจโดยสังเกตลักษณะอัตราการหายใจความลึกของการหายใจพร้อมทั้งรายงานแพทย์เมื่อพบความผิดปกติ 2. สังเกตระดับความรู้สึกตัวเพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันที 3. จัดท่านอนศีรษะสูง ทําให้ปอดขยายได้ดีขึ้น และให้absolute bed restเพื่อลดการใช้ออกซิเจน 4. ฟังเสียงการหายใจเข้าและหายใจออก สังเกตการขยายของปอดทั้งสองข้างกระตุ้นผู้ป่วยหายใจและไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อทําให้ทางเดินหายใจโล่ง 5. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนCannula 3 lit/min เพื่อแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน 6. ดูแลสายยางระบายทรวงอกไม่ให้หัก พับ งอ หรือรั่วซึมบริเวณ ข้อต่อ สังเกตระดับน้ําในหลอดแก้วขึ้นลงตามจังหวะการหายใจและบันทึกสิ่งที่ออกมาจากท่อระบายทรวงอก
3.2. 2.มีอาการเจ็บบริเวณทรวงอกเนื่องจากกระดูกซี่โครงด้านซ้ายซี่ที่6-9 หักและจากการใส่ท่อระบาย
3.2.1. ข้อมูลสนับสนุน
3.2.1.1. S= ผู้ป่วยบอกว่าปวดที่ชายโครงซ้าย O=ประเมิน Pain Score 7/10 คะแนน O= ผู้ป่วยมีสีหน้านิ่ว คิ้วขมวดเล็กน้อย ไม่สดชื่น หายใจตื้น
3.2.2. วัตถุประสงค์
3.2.2.1. ผู้ป่วยสุขสบายมีอาการเจ็บบริเวณทรวงอกลดลง
3.2.3. เกณฑ์การประเมินผล
3.2.3.1. 1.Pain Score <7 คะแนน 2.ผู้ป่วยมีสีหน้าที่ดีขึ้น ไม่มีอาการที่แสดงถึงความเจ็บปวด เช่น สีหน้านิ่ว คิ้วขมวด หายใจตื้น
3.2.4. กิจกรรมการพยาบาล
3.3. 3.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายระบาย
3.3.1. ข้อมูลสนับสนุน
3.3.1.1. S= - O= On ICD 2 ขวด 18 พฤษภาคม 2567 จำนวน 4 วัน
3.3.2. วัตถุประสงค์
3.3.2.1. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายระบาย
3.3.2.2. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายระบาย
3.3.3. เกณฑ์การประเมินผล
3.3.3.1. ผู้ป่วยไม่มีเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายระบาย
3.3.4. กิจกรรมการพยาบาล
3.3.4.1. 1.ตรวจร่างกายและประเมินอาการผิดปกติ เช่น ปวดแผลมากขึ้น หายใจเร็ว/เหนื่อยหอบมากขึ้น แผลซึม มี subcutaneous เป็นต้น 2.ประเมิน V/S q 4 hr 3. จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อให้ปอดขยายได้ดีขึ้น 4. ประเมิน O2 sat , Lung sound 5. Care ICD , fruct workดีหรือไม่ 6. Record content 7. ให้ยารับประทานตามแผนการักษา, ถ้ามีไข้ Para 500 mg 1 tab oral + เช็ดตัวลดไข้ 10. ถ้าไข้หรือปวด ประเมิน PS ด้วย 11. แนะนำญาติดูอลอย่างใกล้ชิดและสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง ถ้ามีอาการให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที 12. ดูด triflow ด้วยนะ