หลักนิติธรรม/นิติรัฐ เกณฑ์ในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักนิติธรรม/นิติรัฐ เกณฑ์ในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ by Mind Map: หลักนิติธรรม/นิติรัฐ เกณฑ์ในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

1. เกณฑ์ในการตรากฎหมาย

1.1. หลักความได้สัดส่วนหรือหลักความพอสมควรแก่เหตุ

1.2. หลักความมั่นคงของกฎหมาย

1.2.1. หลักความแน่นอนชัดเจนของกฎหมาย

1.2.2. หลักการคุ้มครองความเชื่อถือหรือความไว้วางใจโดยสุจริตของบุคคล

1.3. หลักความแน่นอนชัดเจนของกฎหมาย

1.4. หลักการคุ้มครองความสุจริตของบุคคล

1.5. หลักห้ามมิให้กฎหมายมีผลย้อนหลัง

2. เกณฑ์เกี่ยวกับโทษทางอาญา และความรับผิดทางอาญา

2.1. หลักไม่มีความผิดและไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย

2.2. หลักกฎหมายไม่มีผลย้อนหลัง

2.3. หลักการห้ามลงโทษซ้ำ

2.4. หลักการรับผิดต่อการกระทำของตนที่ควรแก่การตำหนิ

2.5. หลักข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับความเป็นผู้บริสุทธิ์

2.6. หลักการห้ามการบังคับให้กล่าวร้ายตนเอง

2.7. หลักการายกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จำเลย

2.8. หลักการคุ้มครองผู้เสียหายในคดีอาญา

2.9. หลักการชดเชยค่าเสียหายให้แก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากการกระทำอันมิชอบของรัฐ

3. เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

3.1. หลักความผูกพันต่อกฎหมายขององค์กรของรัฐ

3.2. หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำของฝ่ายตุลาการและฝ่ายปกครอง

3.3. หลักความรับผิดของรัฐ

4. หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ

4.1. หลักความผูกพันต่อรํฐธรรมนูญขององค์กรของรัฐทั้งหลาย

4.2. หลักความผูกพันต่อองค์กรนิติบัญญัติ

4.3. หลักการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

5. เกณฑ์ในการจัดองค์กรของรัฐ

5.1. หลักแบ่งแยกอำนาจ

5.2. หลักความเป็นอิสระขององค์กรตุลาการ

5.3. หลักห้ามจัดตั้งศาลพิเศษ

6. เกณฑ์ในการคุ้มครองสิทธิ ของประชาชน

6.1. หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

6.2. หลักความผูกพันโดยตรงต่อสิทธิเสรีภาพขององค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐ

6.3. หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขององค์กรตุลาการ

6.4. หลักความเสมอภาคของบุคคลและหลักห้ามมิให้เลือกปฏิบัติ

6.5. หลักการคุ้มครองสิทธิในการตรากฎหมายจำกัดสิทธิ

6.6. หลักการคุ้มครองสิทธิของบุคคลในกระบวนพิจารณา

6.6.1. ความเป็นมา

6.6.1.1. หลักความยุติธรรมตามธรรมชาติ

6.6.1.2. หลักการปกป้องกันตนเองของบุคคลหรือหลักโต้แย้งคัดค้าน

6.6.1.3. หลักการรับฟังความกับศํกดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

6.6.2. เนื้อหา

6.6.2.1. สิทธิที่จะได้รับทราบ

6.6.2.2. สิทธิในการต่อสู้โต้แย้ง หรือสิทธิในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ

6.6.2.3. สิทธิที่จะได้รับการคำนึงถึง

6.7. หลักความรับผิดของรัฐ