1. แสงเลนส์
1.1. ชนิดของเลนส์
1.1.1. 1.เลนส์นูน (Convex Lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะตรงกลางหนากว่าส่วนขอบ เลนส์นูนทำหน้าที่รวมแสง หรือลู่แสงให้เข้ามารวมกันที่จุดจุดหนึ่งเรียกว่า จุดรวมแสง หรือ จุดโฟกัส
1.1.2. 2.เลนส์เว้า (Concave Lens) คือ เลนส์ที่มีลักษณะตรงกลางบางกว่าตรงขอบ เลนส์เว้าทำหน้าที่กระจายแสง หรือ ถ่างแสงออก เสมือนกับแสงมาจากจุดโฟกัสเสมือนของเลนส์เว้า
1.2. ส่วนประกอบของเลนส์
1.2.1. เลนส์นูน
1.2.2. เลนส์เว้า
1.3. ภาพที่เกิดจากเลนส์
1.3.1. เลนส์นูน
1.3.1.1. เลนส์นูนสามารถให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน และภาพจริงเป็นภาพที่ฉากสามารถรับได้เป็นภาพหัวกลับกับวัตถุ ส่วนภาพเสมือนเป็นภาพที่ฉากไม่สามารถรับได้ เป็นภาพหัวตั่งเหมือนวัตถุ ภาพจริงที่เกิดจากเลนส์นูนมีหลายขนาด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระยะวัตถุ และตำแหน่งภาพจริงที่จะเกิดหลังเลนส์ ภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์นูนมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุและตำแหน่งภาพเสมือนจะเกิดหน้าเลนส์
1.3.1.2. .
1.3.2. เลนส์เว้า
1.3.2.1. เลนส์เว้าให้ภาพเสมือนเพียงอย่างเดียว ไม่ว่าระยะวัตถุจะมากหรือน้อยกว่าความยาวโฟกัส และขนาดภาพมีขนาดเล็กกวาวัตถุเท่านั้น การคำนวณหาชนิดและตำแหน่งของภาพที่เกิดจากเลนส์
1.4. สูตร
1.4.1. สูตร 1/f = 1/s + 1/s’ m = I/O = s’/s
1.4.2. s คือ ระยะวัตถุ ( จะมีเครื่องหมายเป็น + เมื่อเป็นวัตถุจริง เป็น – เมื่อเป็นวัตถุเสมือน) s’ คือ ระยะภาพ ( ถ้าภาพจริงใช้เครื่องหมาย + และภาพเสมือนใช้เครื่องหมาย –) f คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์ ( เครื่องหมาย + สำหรับเลนส์นูน และเครื่องหมาย – สำหรับเลนส์เว้า) m คือ กำลังขยายของเลนส์ ( เครื่องหมาย + สำหรับภาพจริง และภาพเสมือนใช้เครื่องหมาย –) I คือ ขนาดหรือความสูงของภาพ ( เครื่องหมาย + สำหรับภาพจริง และภาพเสมือนใช้เครื่องหมาย –) O คือ ความสูงของวัตถุ ( จะมีเครื่องหมาย + เสมอ)
2. คลื่นเสียง (Sound Wave)
2.1. ธรรมชาติของเสียง
2.1.1. ส่วนอัด
2.1.2. ส่วนขยาย
2.2. อัตราเร็วของเสียง
2.2.1. ตารางอัตราเร็วของตัวกลาง
2.3. คุณสมบัติของเสียง
2.3.1. การสะท้อน
2.3.2. การหักเห
2.3.2.1. กฎการหักเหของสเนลล์
2.3.3. การแทรกสอด
2.3.3.1. สมการ
2.3.4. การเลี้ยวเบน
3. แสงเชิงฟิสิกส์ (Light)
3.1. การแทรกสอด
3.1.1. สมการ
3.1.1.1. 1. เมื่อ S1 , S2 มีเฟสตรงกัน การแทรกสอดแบบเสริมกัน (แนวกลางเป็นแนวปฏิบัพ A0) S2P - S1P = nλ d sinθ = nλ d y/L = nλ เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, .... การแทรกสอดแบบหักล้างกัน S2P - S1P = (n-1/2)λ d sinθ = (n-1/2)λ d y/L = (n-1/2)λ เมื่อ n = 1, 2, 3, ....
3.1.1.2. 2.2. เมื่อ S1 , S2 มีเฟสตรงข้ามกัน การแทรกสอดแบบเสริมกัน S2P - S1P = (n-1/2)λ d sinθ = (n-1/2)λ d y/L = (n-1/2)λ เมื่อ n = 1, 2, 3, .... การแทรกสอดแบบหักล้างกัน (แนวกลางเป็นแนวบัพ N0) S2P - S1P = nλ d sinθ = nλ d y/L = nλ เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, ....
3.2. การเลี้ยวเบน
3.2.1. การเลี้ยวเบนของแสงผ่านช่องเดี่ยว
4. แสงและทัศนอุปกรณ์ (Light, optical instrument)
4.1. ทัศนอุปกรณ์
4.1.1. 1. แว่นขยาย เป็นอุปกรณ์ที่ง่าย อาศัยหลักการการหักเหแสงผ่านเลนส์นูน 1 อัน โดยวางวัตถุไว้หน้าเลนส์ให้ระยะวัตถุน้อยกว่าความยาวโฟกัส มองภาพด้านหลังเลนส์จะเห็นภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4.1.2. 2. กล้องถ่ายรูป สำหรับ หลักการทำงานของกล้องถ่ายรูปนี้คือการที่แสงสะท้อนจากวัตถุเดินทางเป็นเส้น ตรงผ่านเลนส์และเกิดเป็นภาพบนฉากรองรับซึ่งก็ได้แก่ฟิล์มนั่นเอง เพื่อ ให้เกิดเป็นภาพที่ชัดเจนบนฟิล์มได้จึงมีการติดตั้งไดอะเฟรมปรับให้เกิดรูรับ แสงขนาดต่างๆรวมทั้งมีส่วนที่ว่าชัตเตอร์ทำหน้าที่ควบคุมเวลาในการเปิด ปิด เพื่อให้ปริมาณแสงตกกระทบกับฟิล์มตามความต้องการโดยปกติแล้วกล้องถ่ายภาพจะมีการทำงานคล้ายคลึงกับการทำงานของดวงตามนุษย์เช่นกัน
4.1.3. 3. เครื่องฉายภาพนิ่ง เป็นทัศนอุปกรณ์ ที่ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์หน้ากล้อง ทำหน้าที่ให้แสงหักเหจากวัตถุที่ต้องการจะฉาย เช่น สไลด์ แผ่นไส ทำให้เกิดภาพจริง ขนาดขยายปรากฏบนจอ
4.1.4. 4. กล้องจุลทรรศน์ ( microscope ) กล้อง จุลทรรศน์ชนิดที่พบได้มากที่สุด คือกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (optical microscope) และยังมีกล้องอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังการขยายสูงมาก
4.1.5. 5. กล้องโทรทรรศน์ เป็นกล้องที่ใช้ดูวัตถุที่อยู่ไกลๆ เช่น เรียกว่ากล้องส่องทางไกล กล้องดูดาว กล้องโทรทรรศน์แบ่งออกเป็น
5. คลื่นกล (Mechanical Wave)
5.1. ประเภทของคลื่นกล
5.1.1. คลื่นตามขวาง (transverse wave)
5.1.2. คลื่นตามยาว (longitudinal wave)
5.2. ส่วนประกอบของคลื่นกล
5.2.1. 1.สันคลื่น (Crest)
5.2.2. 2.ท้องคลื่น (Crest)
5.2.3. 3.แอมพลิจูด (Amplitude)
5.2.4. 4.ความยาวคลื่น (wavelength)
5.2.5. 5.ความถี่ (frequency)
5.2.6. 6.คาบ (period)
5.2.7. 7.หน้าคลื่น(wave front)
5.3. อัตราเร็ว
5.3.1. 1. อัตราเร็วคลื่น หรือเรียกว่าอัตราเร็วเฟส
5.3.2. 2. อัตราเร็วของอนุภาคตัวกลาง
5.3.2.1. 2.1.อัตราเร็วที่สันคลื่นกับท้องคลื่น เป็นศูนย์
5.3.2.2. 2.2.อัตราเร็วอนุภาคขณะผ่านแนวสมดุล มีอัตราเร็วมากที่สุด
5.3.2.3. 2.3.อัตราเร็วอนุภาคขณะมีการกระจัด y ใดๆ จากแนวสมดุล
5.3.3. 3. อัตราเร็วคลื่นในน้ำ
5.3.4. 4. อัตราเร็วในเส้นเชือก