1. พระปัญจสิงขร
1.1. ลักษณะสำคัญ
1.1.1. มีกายสีขาว
1.1.2. มี 4 กร
1.1.3. ถือ พิณและบันเฑาะว์
1.1.4. บนศีรษะมีมงกุฎยอดน้ำเต้า 5 ยอด
1.2. ความเกี่ยวข้องกับดนตรี
1.2.1. เป็นครูเทพแห่งวงเครื่องสายมโหรี
1.2.2. มีความสามารถ
1.2.2.1. ขับลำนำ
1.2.2.2. เล่นพิณ
1.3. ความหมายและความเชื่อ
1.3.1. ในขณะที่ท่านเป็นมนุษย์ธรรมดา ท่านเป็นเด็กเลี้ยงโค แต่ได้เสียชีวิตในวัยหนุ่ม เนื่องจากในขณะที่เป็นมนุษย์ท่านได้ทำความดีไว้ ท่านจึงได้บังเกิดเป็นเทพบุตร มีนามว่า "ปัญจสิงขร"
2. พระปรคนธรรพ
2.1. ชื่อ
2.1.1. พระปรคนธรรพ
2.1.2. พระประโคนธรรพ
2.1.3. พระนารทมุนี(นามจริง)
2.2. ความเกี่ยวข้องกับดนตรี
2.2.1. เป็นผู้ชำนาญในการขับร้องและดุริยางค์ดนตรี
2.2.2. เป็นผู้คิดค้นพิณ
2.3. ลักษณะสำคัญ
2.3.1. กายใบสีเขียวแค
2.3.2. มงกุฎยอดฤๅษี (ดอกลำโพง),ยอดบวช หรือ ยอดน้ำเต้า
2.3.3. จอนหูมีแบบมนุษย์ และแบบฤๅษี
2.3.4. ร่างกายมีขนเวียนทักษินาวัฏบริเวณใบหน้า
2.3.5. มีลักษณะทั้งหน้าหนุ่มและหน้าแก่
2.4. ความหมาย
2.4.1. ''ปรคนธรรพ'' แปลว่ายอดของคนธรรพ บางทีก็เรียกว่ามหาคนธรรพ
2.5. ความเชื่อ
2.5.1. นักดนตรีวงปี่พาทย์ ส่วนใหญ่จะไม่ทานเนื้อวัว เพราะตะโพนทำด้วยหนังวัว
2.5.2. พระปรคนธรรพ เป็นที่นับถือมากในหมู่ของนักดนตรีวงปี่พาทย์ เพราะเชื่อว่า พระองค์คือครูตะโพน ตะโพนทุกใบคือตัวแทนของพระองค์
2.5.3. พระปรคนธรรพ คือพระบรมครูแห่งการดนตรี และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ
2.5.3.1. การขับร้อง
2.5.3.2. โหราศาสตร์
2.5.3.3. กฎหมาย
2.5.3.4. ดนตรีบรรเลง
2.5.3.5. การแพทย์
2.5.3.6. ไสยศาสตร์
2.6. ความสำคัญ
2.6.1. เป็นครูตะโพน ตะโพนทุกใบคือตัวแทนของพระองค์
3. New node
4. พระวิศวกรรม
4.1. ชื่อ
4.1.1. พระวิษณุกรรม
4.1.2. พระเวสสุกรรม
4.1.3. พระเพชรฉลูกรรม
4.1.4. พระวิสสุกรรม
4.2. ความหมาย
4.2.1. เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์
4.2.2. ผู้สร้างเครื่องมือสิ่งของต่างๆ
4.3. ลักษณะ
4.3.1. ปกติ
4.3.1.1. หน้ารูปมนุษย์
4.3.1.2. เศียรสีเขียว
4.3.1.3. สวมมงกุฎยอดน้ำเต้า
4.3.1.4. บริเวณหน้าผากมีลายดอกไม้ทอง
4.3.2. ทรงงาน
4.3.2.1. หน้ารูปมนุษย์
4.3.2.2. เศียรสีเขียว
4.3.2.3. ศีรษะโล้น
4.3.2.4. สวมกระบังพักตร์ หรือ โพกผ้า
4.4. ความเกี่ยวข้องกับดนตรี
4.4.1. ฐานะครูช่าง เป็นครูผู้สร้างเครื่องดนตรีไทยชนิดต่างๆ
4.4.2. เป็นผู้บันดาลให้เครื่องดนตรีถูกต้องตามลักษณะ
4.4.3. ทรงเนรมิตให้เครื่องดนตรีมีเสียงไพเราะ
4.5. ความเชื่อ
4.5.1. เป็นเทพผู้เนรมิตเครื่องดนตรี
4.5.2. ชาวฮินดูจะขอพรเพราะเชื่อว่าท่านจะดลบันดาลความคิดสร้างสรรค์ ผลงานใหม่ๆ
4.5.3. ทรงมีอิทธิฤทธิ์มากในการเนรมิตสิ่งต่างๆ
5. New Topic
6. พระฤาษีนาฏมุนี
6.1. ความเชื่อ
6.1.1. ในตำนานมหาภาระตะยุทธ
6.1.1.1. ในเรื่องรามเกียรติ์ฤาษีเป็นผู้แนะนำให้หนุมานใช้น้ำลายในปากมาดับไฟเมื่อตอนที่หนุมานไปเผากรุงลงกา
6.1.1.2. เป็นสาวกองค์แรกของพระนารายณ์
6.1.1.3. เป็นผู้นำเรื่องราวบนโลกมนุษย์มารายงานแก่พระศิวะ
6.1.2. คัมภีร์ปุราณะ
6.1.2.1. เป็นผู้หยั่งรู้ทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาล
6.1.2.2. เป็นผู้เดียวที่มีความสามารถท่องไปในภพทั้งสาม
6.1.3. ตำนานของไทย
6.1.3.1. คล้ายกับตำนานของมหาภาระตะยุทธ
6.1.3.2. ทรงกำเหนิดจากเศียรที่5ของพระพรหมธาดา
6.1.3.3. ไม่ว่าจะมีการบูชาสิ่งใดหากไม่มีการเชิญท่านแล้วพิธีกรรมนั้นมักไม่สมบรูณ์
6.2. เกี่ยวข้องกับดนตรี
6.2.1. เป็นผู้นำเกี่ยวกับดนตรีและนาฏศิลป์มาสอนให้กับมนุษย์
6.2.2. สอนให้มนุษย์รู้จักความอ่อนโยน รัก และ เมตตา
6.3. ลักษณะสำคัญในการสังเกตุ
6.3.1. หัวโขนจะเป็นหน้าฤาษีหรือเฒ่าแก่
6.3.2. หน้าสีน้ำตาลอมม่วง
6.3.3. สวมลอมพอกฤาษี
7. พระพิราพ
7.1. ความหมาย
7.1.1. ครูสูงสุดทั้งฝ่ายนาฏศิลป์และดุริยางค์ศิลป์
7.1.2. ปางหนึ่งของพระศิวะหรือพระอิศวร
7.1.3. เทพเจ้าแห่งความตายและสงคราม
7.1.4. ผู้ให้ชีวิตและปัดเป่าโรคภัย
7.2. ลักษณะ
7.2.1. หัวโล้น สวมกะบังหน้า
7.2.2. ปากแสยะ
7.2.3. ตาจระเข้
7.2.4. หน้ากาง คางออก
7.2.5. เขี้ยวทู่หรือเขี้ยวตัด
7.2.6. ผิวสีม่วงแก่
7.3. ความเชื่อ
7.3.1. อินเดีย
7.3.1.1. ปางหนึ่งของพระอิศวร
7.3.1.2. พระไภรวะ หรือไภราวะ หรือพระไภราพ
7.3.1.3. เป็นเทพแห่งความตาย โรคร้าย ภัยสงคราม
7.3.1.4. ช่วยขจัดโรคภัยไข้เจ็บ
7.3.2. ทิเบต
7.3.2.1. เทพแห่งศิลปะการร่ายรำ
7.3.3. ทางนาฏศิลป์
7.3.3.1. พระองค์เป็นผู้ขจัดอุปทวอันตราย ขจัดซึ่งเสนียดจัญไรต่างๆ
7.4. ความเกี่ยวข้องต่อดนตรี
7.4.1. ให้ความเคารพเกรงกลัว เพราะถือเป็นเทพที่บันดาลความเป็นความตายได้
7.4.2. ผู้ให้กำเนิดท่ารำที่เรียกว่า "วิจิตรตาณฑวะ"
7.4.2.1. เป็นท่ารำท่าหนึ่งใน 108 ท่ารำของพระศิวะ
7.4.2.2. ท่านเป็น "นาฏราช"
7.4.3. นับถือบูชาแล้ว ผู้นั้นจะปราศจากภยันอันตราย อาถรรพณ์ร้ายทั้งปวง
7.4.4. ช่วยให้เกิดสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย