1. ดูดอย่างไร
1.1. ขั้นเตรียม
1.1.1. ล้างมือให้สะอาดก่อนดูดเสมหะ
1.1.2. บอกผู้ป่วยว่าจะดุูดเสมหะ
1.1.3. ฟังเสียงปอด
1.1.4. ตรวจสอบเครื่องดูดเสมหะ
1.1.4.1. ความดัน
1.1.4.1.1. ผู้ใหญ่ประมาณ 100-120 มม.ปรอท
1.1.4.1.2. เด็กประมาณ 70-80 มม.ปรอท
1.1.5. จัดท่านอนศีรษะสูงเล็กน้อยประมาณ 15 องศา
1.1.6. ให้ออกซิเจนก่อนดูด 2-3 นาที
1.2. ขั้นดูด
1.2.1. สวมถุงมือสะอาด
1.2.2. จับสายดูดเสมหะต่อเข้ากับหัวต่อเครื่องดูดเสมหะ มืออีกข้างเปิดเครื่องดูดเสมหะ
1.2.3. ใส่สายดูดเสมหะลงไปบริเวณที่มีเสมหะมากและไม่มีข้อห้ามใดๆ
1.2.4. ใช้นิ้วปิดรูตรงหัวข้อต่อ
1.2.5. ค่อยๆหมุนสายยางไปรอบๆ และค่อยๆ ดึงสายดูดเสมหะออกมาช้าๆ
1.2.5.1. ใช้เวลาในการดูดเสมหะไม่นานเกิน 10-15 วินาที
1.2.6. จุ่มปลายสายดูดเสมหะลงในขวดน้ำที่สะอาด ดูดน้ำผ่านสายดูดเสมหะเพื่อชะล้างภายในสาย
1.2.7. ปลดปลายสายดูดเสมหะทิ้ง
1.2.8. เช็ดปลายสายที่ต่อกับสายดูดเสมหะด้วยสำลีแอลกอฮอล์ 70%
1.2.9. หลังดูดเสมหะควรให้ออกซิเจน 100% หรือประมาณ 10 ลิตร/นาที
1.3. ขั้นประเมิน
1.3.1. ฟังเสียงการทำงานของปอดภายหลังการดูดเสมหะ
1.3.2. O sat > 95%
2. วัตถุประสงค์
2.1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูดเสมหะ
2.2. ตระหนักถึงความสำคัญของการดูดเสมหะ
2.3. สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติการพยาบาลในการดูดเสมหะผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
3. มีกี่ประเภท
3.1. ทางจมูกและปาก
3.1.1. ขับเสมหะออกจากทางเดินหายใจส่วนบน
3.1.2. กระตุ้นให้เกิดการไอขับเสมหะ
3.1.3. ป้องกันการสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าปอด เช่น น้ำ เลือด อาเจียน
3.2. ทางท่อหายใจและท่อเจาะคอ
4. ดูดเมื่อไหร่
4.1. มีเสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ไม่สามารถไอขับเสมหะออกมาได้
4.1.1. หายใจเสียงดัง ได้ยินเสียงเสมหะ
4.1.2. กระสับกระส่าย
4.1.3. PR + RR เพิ่มขึ้นกว่าปกติ
4.1.4. ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ
4.1.5. ไอไม่มีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้
4.1.6. เสมหะเหนียวและมีจำนวนมาก
4.1.7. ช่วย on ET tube