สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาชิรญาณวโรรส

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาชิรญาณวโรรส by Mind Map: สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาชิรญาณวโรรส

1. ทรงจัดการปกครองคณะสงฆ์ให้เข้าระเบียบ ตามพระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑

2. -ทรงพระดำริจัดหาและสร้างหลักสูตรสำหรับ การเล่าเรียนของกุลบุตรในหัวเมืองทั่วพระราชอาณาจักร -ทรงแนะนำชักชวนกุลบุตรทั้งหลายให้นิยมยินดีในการศึกษา ทรงซักนำประชาชนให้เห็นประโยชน์ของการศึกษาและช่วยกันสร้างโรงเรียน เพื่อเป็นที่เล่าเรียนของบุตรหลานของพวกเขาเอง ทรงจัดฝึกอบรมพระสงฆ์ผู้มีความรู้ความสามารถให้เข้าใจในการศึกษาแล้ว ตั้งให้เป็นผู้อำนวยการจัดการศึกษาในหัวเมืองประจำมณฑลต่างๆ และทรงเป็นผู้ที่จะต้องคอยช่วยเหลือแก้ไขปัญหาขัดข้องต่างๆ

3. พระประวัติสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงพระอิสริยยศ 11 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2464 พระชันษา 61 ปี

4. ผลงานด้านการศึกษา

5. ประวัติแบบย่อ

6. ที่มาข้อมูลและวิดีโอ

6.1. https://youtu.be/6M2A84n6zSU

6.2. https://youtu.be/QPzFsBsovII

6.3. https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาชิรญาณวโรรส

6.4. http://www.watbowon.com/Monk/ja/03/

7. นางสาวปฏิมากรณ์   อินต๊ะ เลขที่ 16   ม.6/4

8. ด้านการปกครอง

8.1. ทรงเลือกและแต่งตั้งพระเถระผู้ดำรงตำแหน่งทางการคณะสงฆ์

9. ทรงแปลพระสูตรต่างๆ ๔๗ สูตร

10. วรรณา (อธิบาย) พระสูตร ๒๕ เรื่อง

11. ประทานพระมหาสมณวินิจฉัยในอธิกรณ์ ปัญหาทางพระวินัย ทางการปกครองคณะสงฆ์ และการพระ ศาสนาทั่วไป

12. ผลงานด้านต่างๆ

12.1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส และเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองในธรรมยุติกนิกาย เมื่อปี พ.ศ. 2424

12.2. เมื่อผนวชได้ 3 พรรษา ทรงเข้าแปลพระปริยัติธรรมหน้าพระที่นั่ง ทรงแปลได้เป็นเปรียญธรรม 5 ประโยค

13. การออกผนวช

13.1. เมื่อพระชันษาได้ 8 ปี ทรงเริ่มศึกษาภาษาบาลี จนสามารถแปลธรรมบทได้ก่อนผนวชเป็นสามเณร นอกจากนี้ยังทรงศึกษาภาษาอังกฤษและโหราศาสตร์

14. ผลงานด้านศาสนา

14.1. ทรงให้มีการปรับปรุงหลักสูตร ทั้งหลักสูตรนักธรรมและหลักสูตรบาลีและได้ทรงประกาศใช้เป็นทางการ

14.2. ทรงได้จัดให้มีสอบไล่พระปริยัติธรรมสนามหลวง

15. ด้านพระราชนิพนธ์

15.1. พระธรรมเทศนา ๘๐ กัณฑ์

15.2. พระโอวาทและธรรมคดี ๗๐ เรื่อง

15.3. พระนิพนธ์ภาษาบาลี ๑๕ เรื่อง

15.4. หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี ๘ เล่ม

15.5. หลักสูตรนักธรรมชั้นโท ๖ เล่ม

15.6. หลักสูตรนักธรรมชั้นเอก ๗ เล่ม

15.7. หลักสูตรบาลีไวยากรณ์ ๖ เล่ม

15.8. หลักสูตรบาลีประโยค ๓ ธัมมปทัฏฐกถา ๘ เล่ม

15.9. หลักสูตรบาลีประโยค ๔ มังคลัตถทีปนี ภาค ๑ ๑ เล่ม

15.10. หลักสูตรบาลีประโยค ๕ มังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ๑ เล่ม

15.11. หลักสูตรบาลีประโยค ๖ สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ ๑ เล่ม

15.12. หลักสูตรบาลีประโยค ๗ สมันตปาสาทิกา ภาค ๑,๒ ๒ เล่ม