นิเวศวิทยาทางทะเล และการท่องเทียวเชิงนิเวศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นิเวศวิทยาทางทะเล และการท่องเทียวเชิงนิเวศ by Mind Map: นิเวศวิทยาทางทะเล และการท่องเทียวเชิงนิเวศ

1. ลักษณะทางกายภาพของทะเล

1.1. ลักษณะทางกายภาพของทะเลและ มหาสมุทร

1.1.1. ลักษณะทาง กายภาพ

1.1.2. นิเวศวิทยาทางทะเล

1.1.3. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

1.2. การแบ่งเขตชายฝั่ง

1.2.1. ชายฝั่งหิน

1.2.2. ขายฝั่งหาดทราย

1.2.3. ชายฝั่งหาดโคลน

1.3. ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อชายฝั่ง

1.4. เอสทูรี/ปากแม่น้ํา

1.4.1. เอสทูรี

1.4.1.1. “เอสทูรีเป็นการผสมของน้ําจืดจากการระบายจากแผ่นดิน กับน้ํา ทะเล ในบริเวณชายฝั่งที่ถูกกึ่งปิดล้อม

1.5. การเคลื่อนย้ายและการสะสมตะกอน

1.6. เทคโนโลยีการสํารวจพื้นทะเล

1.7. ลักษณะกายภาพของชายฝั่ง

2. คุณสมบัติของน้ำทะเลที่นักท่องเที่ยวควรรู้

2.1. คุณสมบัติทางเคมีของน้ำทะเล

2.1.1. การเกิดน ้าในมหาสมุทรมีหลายทฤษฎี ส่วนหนึ่งคิดว่าไม่น่าจะเกิดจาก น ้าที่แทรกตัวอยู่ตามชั ้นหินของผิวเปลือกโลก อีกทั ้งไม่น่าจะเกิดจาก การรวมตัวของไอน ้าในบรรยากาศ แต่ส่วนใหญ่คาดว่าเกิดจาก กระบวนการภายในของโลก • โดยถูกปลดปล่อยออกจากชั ้นแมนเทิลแล้วสะสมตัวตามที่ลุ่มต่างๆ จน เกิดเป็ นมหาสมุทรในที่สุด • มหาสมุทรเป็ นเพียงแหล่งรับเกลือแร่จากพื ้นทวีป ผ่านกระบวนการ ต่างๆ ท าให้เกิดสภาพคงตัวทางด้านส่วนประกอบของน ้าทะเล

2.2. เกลือแร่ต่างๆ ในน้ำทะเล

2.3. ความเค็มของน้ำทะเล

2.3.1. • ความเค็มของน ้าทะเล (salinity) หมายถึง ปริมาณของแข็งทั ้งหมดมี น ้าหนักเป็ นกรัมที่เหลืออยู่ในน ้าทะเล 1 กิโลกรัม (ส่วนในพันส่วน : part per thousand; ppt) • Salinity (S %o) = 1.80655 (Cl %o) • นอกจากหาจากค่า salinity แล้ว ยังสามารถหาได้จากคุณสมบัติการน า ไฟฟ้ าของประจุเกลือต่างๆ ที่ละลายอยู่ในน ้าทะเล หรือสภาพการน าไฟฟ้ า (conductivity)

2.4. การไหลเวียนของอากาศ

2.4.1. อุณหภูมิของผิวหน้าโลกรวมทั ้งการถ่ายทอดไอน ้าและ ความร้อนสู่บรรยากาศเป็ นตัวการส าคัญที่ก่อให้เกิดการ เคลื่อนที่ของอากาศ • การเคลื่อนที่ตามแนวระนาบก่อให้เกิดการไหลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นลักษณะของการเกิดลมนั่นเอง

2.5. การไหลเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร

2.5.1. ความแตกต่างของอุณหภูมิของมวลน ้าในมหาสมุทรก่อให้เกิดการ หมุนเวียนของกระแสน ้าในมหาสมุทร • บริเวณขั ้วโลกมีอุณหภูมิบริเวณผิวหน้าน ้าทะเลต ่าและมีความ หนาแน่นสูง ก่อให้เกิดการจมตัวลงตามขอบไหล่ทวีป • มวลน ้าบริเวณผิวหน้าน ้าทะเลกลางมหาสมุทรจะมีอุณหภูมิสูงและมี ความหนาแน่นต ่า ก่อให้เกิดการลอยตัวของมวลน ้า • น ้ามีคุณสมบัติด้านความหนืดเมื่อมีการจมตัวและลอยตัวของมวล น ้าจะมีการไหลแบบต่อเนื่องของมวลน ้าเนื่องจากความหนืด

2.6. ความหนาแน่นของน้ำทะเล

2.6.1. ความหนาแน่นของน ้าทะเลจะเปลี่ยนแปลงตามความเค็มและ อุณหภูมิของน ้าทะเล • ความหนาแน่นจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ ้น • ความหนาแน่นจะลดลงเมื่อความเค็มลดลง

2.7. การดันของน้ำทะเล

2.7.1. ความดันมีหน่วยเป็ นบาร์ (bar) โดยทั่วไปน ้าทะเลที่มี ความลึก 1 เมตรจะมีความดัน 1 บาร์ และความดันจะเพิ่มขึ ้น 1 บรรยากาศ ทุกๆ ความลึก 10 เมตร ดังนั ้นที่ผิวหน้าน ้าทะเลจึงมี ความดันเท่ากับ 0 บรรยากาศ ความดัน = ความหนาแน่น * ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก * ความลึกของน ้

2.8. แสงในน้ำ ทะเล

2.8.1. การเคลื่อนที่ของแสงเป็ นไปตามการเคลื่อนที่ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ า • แสงจะเคลื่อนที่ช้าลงตามการเพิ่มขึ ้นของความหนาแน่นของน ้าที่เป็ นตัวกลาง • ความเข้มของแสงจะลดลงจากการดูดกลืนแสงของผิวหน้าน ้าทะเลหรือจากสิ่งที่ ล่องลอยอยู่ในมวลน ้า

2.9. คลื่น

2.9.1. คลื่นถือกันว่าเป็ นคลื่นในอุดมคติ เคลื่อนที่ไปข้างหน้าในลักษณะเป็ น เส้นโค้ง มีส่วนประกอบดังนี ้ – ยอดคลื่น – ท้องคลื่น – ความสูงของคลื่น – ความกว้างของคลื่น – ความยาวของคลื่น – คาบของคลื่น • สาเหตุส าคัญของการเกิดคลื่น คือ ลมที่พัดผ่านผิวหน้าของน ้า

2.10. น้ำขึ้นน้ำลง

2.10.1. น ้าขึ ้นน ้าลงเป็ นลักษณะของคลื่นยาวในมหาสมุทร • แรงที่ก่อให้เกิดน ้าขึ ้นน ้าลง คือ แรงรวมของแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ที่กระท าต่อโลก กับแรงหนีศูนย์กลางที่กระท าต่อจุดนั ้นๆ ซึ่งผลรวมของแรงทั ้งสองได้เป็ นแรงลัพธ์ • น ้าขึ ้นน ้าลงจะเกิดล่าจากวันก่อนเป็ นเวลา 50 นาทีเสมอ ดังนั ้นน ้าขึ ้น น ้าลง จะอยู่ในต าแหน่งเดิมต้องใช้เวลา 24ชั่วโมง 50 นาที

2.11. อุณหภมิของน้ำทะเล

2.11.1. • อุณหภูมิของน ้าทะเลมีค่าอยู่ในช่วง -2ถึง 30องศาเซลเซียส • ในบริเวณเส้นศูนย์สูตรมีค่าอยู่ในช่วง 28- 30องศาเซลเซียส • บริเวณที่อุณหภูมิของผิวหน้าน ้าทะเลมีค่าสูง คือ บริเวณ อ่าวเปอร์เซียที่สูงถึง 33องศาเซลเซียส

3. การท่องเที่ยวทางทะเล และผลกระทบต่อระบบนิเวศ

3.1. Marine Tourism

3.1.1. paramotor

3.1.2. wind surfing

3.1.3. Rock Climbing

3.1.4. Water skiing

3.1.5. SCUBA Diving

3.2. Nature based MT

3.2.1. Case study of Heron Island

3.2.1.1. ในยุคแรก (ปี 1925-1929) เกาะแห่งนี้ใช้เป็นฐานสำหรับการจับเต่าทะเลและโรงงาน ทา ซุปเต่าทะเล หลังจากนั้น เกาะแห่งนี้กลายเป็นรีสอร์ทกลาง Great Barrier Reef

3.3. Social and cultural MT

3.3.1. Social and cultural attraction

3.3.2. Social event

4. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล คุณสมบัติและจรรยาบรรณของนักท่องเที่ยว

4.1. การท่องเที่ยว

4.2. การท่องเทียวกับเศรษฐกิจประเทศไทย

4.3. นักท่องเทียว (Tourist)

4.3.1. ลักษณะของนักท่องเที่ยวคุณภาพ

4.3.2. ลักษณะของนักท่องเทียวเชิงนิเวศ

4.4. Ecotourism การท่องเทียวเชิงนิเวศ

4.5. Sustainable Tourism

4.5.1. Environment/ Ecology

4.5.2. Economy/ Employment

4.5.3. Equity/ Equality

5. ปรากฏการณ์ทางทะเลที่ส ำคัญ

5.1. น้ำหนุน

5.2. Tsunami

5.3. El Nino

5.3.1. เป็นการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศระดับโลก

5.4. Storm Surge

5.4.1. Cyclone Nargis

5.4.2. Typhoon Gay