1. บทที่ 4
1.1. ความสำคัญ แนวทางปฏิบัติ และความสัมพันธ์ของหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคม
1.1.1. ความสำคัญ
1.1.1.1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกระดับทั้งในระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศ ซึ่งเป็นแนวทางให้ประชาชนนำไปใช้ในการดำรงชีวิตแบบพออยู่พอกินและพึ่งตนเองได้ รวมถึงการวางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เข้มแข็งด้วย
1.1.2. แนวทางปฏิบัติ
1.1.2.1. ยึดความประหยัด
1.1.2.2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต
1.1.2.3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
1.1.2.4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้
1.1.2.5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป
2. บทที่ 1
2.1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.1.1. 3 ห่วง
2.1.1.1. พอประมาณ
2.1.1.2. มีเหตุผล
2.1.1.3. มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
2.1.2. 2 เงื่อนไข
2.1.2.1. เงื่อนไขความรู้
2.1.2.1.1. รอบรู้
2.1.2.1.2. รอบคอบ
2.1.2.1.3. ระมัดระวัง
2.1.2.2. เงื่อนไขคุณธรรม
2.1.2.2.1. ซื่อสัตย์สุจริต
2.1.2.2.2. ขยันอดทน
2.1.2.2.3. สติปัญญา
2.1.2.2.4. แบ่งปัน
3. บทที่ 2
3.1. ความหมาย หลักการ แนวคิดของหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3.1.1. ความหมาย
3.1.1.1. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตและการปฏิบัติแก่ประชาชน โดยยึดหลัก “ทางสายกลาง”
3.1.1.2. หลักการ
3.1.1.2.1. การพึ่งพาตนเอง เป็นการยึดหลักตนเองเป็นที่พึ่งแห่งตน รู้จักนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ รู้จักผลิตพืชให้เพียงพอกับความต้องการในการบริโภคของครัวเรือนก่อนหลังจากนั้นจึงผลิตเพื่อการค้า
3.1.1.2.2. ให้ความสำคัญกับการรวมกลุ่มกันของชาวบ้าน เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น การเกษตรแบบผสมผสาน การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแปรรูปอาหาร เป็นต้น
4. บทที่ 3
4.1. การศึกษาแนวคิด วิเคราะห์สังคม ปัญหาสังคม และการพัฒนาสังคม
4.1.1. แนวคิด
4.1.1.1. การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและ ความไม่ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน ใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ
4.1.2. ปัญหาสังคม
4.1.2.1. ท้องก่อนวันเรียน
4.1.2.2. ยาเสพติด
4.1.2.3. หนี้สิน
4.1.2.4. ความรุนแรง