เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการแพทย์และการพยาบาล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการแพทย์และการพยาบาล by Mind Map: เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการแพทย์และการพยาบาล

1. ในปัจจุบันโรงพยาบาลมีความเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศทั้งหมด แม้แต่ที่ห่างไกลความเจริญที่ไม่มีแพทย์ประจำก็สามารถรักษาคนไข้ได้ ด้วยระบบระบบแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ระบบแพทย์ทางไกลเป็นการนำเอาความก้าวหน้าด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมาประยุกต์ใช้กับงานทางการแพทย์ โดยการส่งสัญญาณผ่านสื่อซึ่งอาจจะเป็นสัญญาณดาวเทียม (Satellite) หรือใยแก้วนำแสง (Fiber optic)แล้วแต่กรณีควบคู่ไปกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แพทย์ต้นทางและปลายทางสามารถติดต่อกันด้วยภาพเคลื่อนไหวและเสียง ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลคนไข้ระหว่างกันได้

2. ระบบสารสนเทศทางการบริหาร(Administrative information system)

2.1. ระบบ

2.1.1. ระบบการลงทะเบียนผู้ป่วย

2.1.2. ระบบการเงิน

2.1.3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

2.1.4. ระบบเงินเดือนและทรัพยากรมนุษย์

2.1.5. ระบบประกันคุณภาพ

2.2. ตัวอย่าง

2.2.1. Software HIS Information System (HIS) ของโรงพยาบาลสาธิต

2.2.1.1. เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ/หรือโรงพยาบาลทั่วไปในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

2.2.1.1.1. ระบบงานห้องบัตร

2.2.1.1.2. ระบบงานห้องตรวจโรค

2.2.1.1.3. ระบบงานจุดจ่ายยา

2.2.1.2. ระบบโรงพยาบาล (HIS)

2.2.1.2.1. UNIX ประกอบด้วย ระบบผู้ป่วยใน, ระบบห้องผ่าตัด, ระบบห้องคลอด, ระบบห้องปฏิบัติการ, ระบบเวชระเบียนผู้ป่วยในระบบการเงินผู้ป่วยนอกและระบบการเงินผู้ป่วยใน ระบบสั่งอาหาร On Line Windows ประกอบด้วย ระบบเวชระเบียน, ระบบผู้ป่วยนอก,ระบบนัดหมาย, ระบบการเงินผู้ป่วยนอก, ระบบการเงินผู้ป่วยใน

2.2.1.3. โปรแกรม Med-Tark

2.2.1.3.1. มีระบบเวชระเบียน ระบบห้องยา ระบบการเงิน ส่วนโปรแกรมสำนักงาน(back office)ที่มีใช้ช่วยในงานบริการ เช่น โปรแกรมการเงินการบัญชี โปรแกรมเงินเดือน โปรแกรมพัสดุ โปรแกรมครุภัณฑ์ เป็นต้น พัฒนาจากโปรแกรม Visual FoxPro

2.2.1.4. (iMed)

2.2.1.4.1. ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน สำหรับสถานพยาบาล สถานีอนามัย และโรงพยาบาล เพื่อใช้ในการให้บริการผู้ป่วยในระบบงานส่วนหน้า (Front office) ของสถานพยาบาล ซึ่งครอบคลุมการให้บริการผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ โดยมุ่งเน้นในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ใช้งาน และพัฒนาคุณภาพในการให้บริการผู้ป่วย

2.2.1.5. (MIMS:Hospital Information Management System)

2.2.1.5.1. ระบบ งานการบริหารโรงพยาบาลที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญด้านระบบงานคอม พิวเตอร์และระบบโรงพยาบาล เพื่อตอบสนองความต้องการขององค์กรที่ต้องการระบบงานที่ช่วย ในการบริหารจัดการให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว, เที่ยงตรง, แม่นยำ หลีกเลี่ยงการทำงานที่ซ้ำซ้อน

3. ข้อดีของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับทางการพยาบาล

4. ข้อเสียของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับทางการพยาบาล

4.1. ความผิดพลาดในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา

4.2. การละเมิดลิขสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญา การทำสำเนาและลอกเลียนแบบข้อมูลข้อผู้ป่วย

4.3. การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์ภัยแฝงออนไลน์

5. 3.สามารถถ่ายโอนข้อมูลผู้ป่วยเข้าไปสู่ระบบอื่นได้ เพื่อที่จะได้มีการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

6. ระบบสารสนเทศทางคลินิก(Clinical information system)

6.1. ความหมาย :  เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ แพทย์และพยาบาลจะใช้ระบบนี้ในการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการนำไปใช้ และการประเมินการดูแลผู้ป่วย

6.2. ตัวอย่าง

6.2.1. ระบบสารสนเทศทางการแพทย์

6.2.1.1. 1.บันทึกข้อมูลทางการพยาบาล

6.2.1.1.1. North American Nursing Diagnosis Association : NANDAสมาคมการวินิจฉัยทางการพยาบาลอเมริกาเหนือ

6.2.1.1.2. Nursing Intervention Classification : NIC ใช้ตัดสินว่าจะให้การบาบัดทางการพยาบาลให้แก่ผู้ป่วยเพื่อแก้/บรรเทาปัญหาทางสุขภาพ

6.2.1.1.3. International Classification Nursing Practice : ICNP การใช้คามาตรฐานในการวินิจฉัยทางการพยาบาล

6.2.1.1.4. Nursing Outcome Classification : NOC ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่ช่วยประเมินว่าผู้ป่วยได้รับการพยาบาลที่มีคุณภาพครบถ้วนและเท่าเทียมกันทุกคน

6.2.1.2. 2.มีความยืดหยุ่นในการใช้ระบบเพื่อดูข้อมูลและเก็บรวบรวมสารสนเทศที่จำเป็นทำให้มีการดูแลผู้ป่วยที่มีคุณภาพ

6.2.1.2.1. ระบบติดตาม (Monitor system)

6.2.2. ระบบติดตาม (Monitor system)

6.2.2.1. 1.เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดทางชีวภาพแบบอัตโนมัติในหน่วยวิกฤต และหน่วยเฉพาะโรค

6.2.2.2. 2.รูปแบบของระบบติดตาม

6.2.3. การเตือนเมื่อพบสิ่งที่ผิดปกติ

6.2.3.1. 1.ระบบติดตามแบบเคลื่อนที่

6.2.3.2. 2.การบันทึกสิ่งค้นพบที่ผิดปกติ

6.2.4. ระบบห้องปฏิบัติการ (Laboratory system)

6.2.4.1. 1.บันทึกข้อมูลผลการตรวจต่างๆ ทางห้องปฏิบัติการ

6.2.4.2. 2.สามารถเข้าถึงผลการตรวจได้อย่างสะดวกและรวดเร็วขึ้น

6.2.4.3. 3.ช่วยลดความผิดพลาดในการายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกิดจากคน

6.2.4.3.1. ระบบฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา

6.2.5. ระบบรังสี (Radiology system)

6.2.5.1. 1.เก็บข้อมุลเป็นภาพดิจิตอลแทนฟิล์มรังสีแบบเดิม

6.2.5.2. 2.สามารถเข้าถึงข้อมูลภาพทางรังสีได้อย่างรวดเร็วขึ้น

6.2.5.3. 3.สามารถส่งต่อภาพรังสีไปยังแหล่งอื่นๆ เพื่อส่งต่อการรักษาไปยังโรงพยาบาลอื่น

6.2.5.3.1. ระบบฐานข้อมูล x-ray ของโรงพยาบาลศิริราชระบบ SIPACS

6.2.6. ระบบเภสัชกรรม (Pharmacy system)

6.2.6.1. 2.สามารถเข้าถึงประวัติผู้ป่วยและการให้ยาได้ รวมทั้งประวัติการแพ้ยาและข้อมุ,ส่วนบุคคล

6.2.6.2. 4.การคำนวณการใช้ยา ค่าใช้จ่ายและออกใบเสร็จรับเงิน

6.2.6.3. 3.ช่วยแพทย์ในการตัดสินใจว่ายาตัวไหนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และขนาดยา ที่เหมาะสมกับผู้ป่วย

6.2.7. 1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยา