1. การสื่อสารข้อมูล
1.1. ประกอบด้วย
1.1.1. ข้อมูล/ข่าวสาร
1.1.2. ผู้ส่ง
1.1.3. ผู้รับ
1.1.4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล
1.1.5. โพรโทคอล
1.2. สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสาร
1.2.1. สัญญาณแอนาล็อก
1.2.2. สัญญาณดิจิทัล
1.3. การถ่ายโอนข้อมูล
1.3.1. การถ่ายโอนแบบขนาน
1.3.2. การถ่ายโอนแบบอนุกรม
1.4. รูปแบบการรับส่งข้อมูล
1.4.1. การสื่อสารทางเดียว
1.4.2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา
1.4.3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา
2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1. เครือข่ายส่วนบุคคล
2.2. เครือข่ายเฉพาะที่
2.3. เครือข่ายนครหลวง
2.4. เครือข่ายบริเวณกว้าง
2.5. ลักษณะของเครือข่าย
2.5.1. เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ
2.5.2. เครือข่ายระดับเดียวกัน
2.6. รูปร่างเครือข่าย
2.6.1. เครือข่ายแบบัส
2.6.2. เครือข่ายแบบวงแหวน
2.6.3. เครือข่ายแบบดาว
2.6.4. เครือข่ายแบบเมช
3. บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1. ประโยชน์
3.1.1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล
3.1.2. มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
3.1.3. ความเร็วขอการรับส่งข้อมูลดี
3.1.4. ขยายบริการขององค์กร
3.1.5. ประหยัดค่าใช้จ่าย
3.1.6. มีความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร
3.1.7. มีความสะดวกในการประสานงาน
3.1.8. สร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย
4. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
4.1. สื่อกลางแบบใช้สาย
4.1.1. สายคู่บิดเกลียว
4.1.1.1. แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน
4.1.1.2. แบบป้องกันสัญญาณรบกวน
4.1.2. สายโคแอกซ์
4.1.3. สายไฟเบอร์ออปติก
4.2. สื่อกลางแบบไร้สาย
4.2.1. อินฟราเรด
4.2.2. ไมโครเวฟ
4.2.3. คลื่นวิทยุ
4.2.4. ดาวเทียวสื่อสาร
5. โพรโทคอล
5.1. ทีซีพี/พีไอ
5.1.1. ใช้ในการสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ต
5.2. ไวไฟ
5.2.1. เครือข่ายแบบไร้สาย
5.3. ไออาร์ดีเอ
5.3.1. เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายระยะใกล้
5.4. บลูทูท
5.4.1. ใช้คลื่นวิทยุความถี่2.4GHz
6. อุปกรณ์การสื่อสาร
6.1. โมเด็ม
6.1.1. แบบหมุนโทรศัพท์
6.1.2. ดิจิทัลโมเด็ม