จิตวิทยาการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
จิตวิทยาการศึกษา by Mind Map: จิตวิทยาการศึกษา

1. กลุ่มพฤติกรรมนิยม

1.1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning)

1.2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (Skinner’s Operant Conditioning Theory)

1.3. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)

2. กลุ่มพุทธินิยม

2.1. กระบวนการคิด (Cognitive process)

2.1.1. การตีความหมาย

2.1.2. การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ (Classifying)

2.1.3. การแก้ปัญหา (Problem solving)

2.1.4. การตัดสินใจ (Decision)

2.1.5. การคาดการณ์ล่วงหน้าหรือการมีแผนการรองรับ (Anticipating)

2.1.6. จินตนาการหรือการวาดภาพในใจ (Imagining)

2.1.7. การคิดอย่างมีเหตุผล (Reasoning)

2.1.8. การจำได้ (Remembering)

2.1.9. การรับรู้ (Perception)

2.1.10. ความใส่ใจ (Attending)

2.2. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)

2.2.1. 1. การซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation)

2.2.2. 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation)

2.3. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูนเนอร์ (Bruner)

2.4. ทฤษฏีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้ (Vygotsky)

2.4.1. 1. การเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้

2.4.2. 2. พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ (Zone of Proximal Development)

3. กลุ่มแรงจูงใจ

3.1. ทฤษฎีแรงจูงใจ

3.1.1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral View of Motivation)

3.1.2. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning View of Motivation)

3.1.3. ทฤษฎีพุทธินิยม (Cognitive View of Motivation)

3.1.4. ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic View of Motivation)

3.2. องค์ประกอบของแรงจูงใจ

3.2.1. องค์ประกอบทางด้านกายภาพ (Biological Factor)

3.2.2. องค์ประกอบทางด้านการเรียนรู้ (Learned Factor)

3.2.3. องค์ประกอบทางด้านความคิด (Cognitive Factor)

3.3. ประเภทของแรงจูงใจ

3.3.1. กลุ่มที่1 แรงจูงใจฉับพลัน (Aroused Motive)

3.3.2. กลุ่มที่ 2 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motive)

3.3.3. กลุ่มที่ 3 แรงจูงใจปฐมภูมิ (Primary Motive)

3.4. รูปแบบของแรงจูงใจ

3.4.1. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement Motive)

3.4.2. แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ (Affiliative Motive)

3.4.3. แรงจูงใจใฝ่อำนาจ (Power Motive)

3.4.4. แรงจูงใจใฝ่ก้าวร้าว (Aggression Motive)

3.4.5. แรงจูงใจใฝ่พึ่งพา (Dependency Motive)