ประเภทของระบบสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประเภทของระบบสารสนเทศ by Mind Map: ประเภทของระบบสารสนเทศ

1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)

1.1. ประโยชน์ของ DSS

1.1.1. ช่วยประมวลผลและนำเสนอข้อมูลแก่ผู้ใช้

1.1.2. ช่วยประเมินทางเลือกในการตัดสินใจ

1.1.3. ช่วยสร้างความยืดหยุ่น ความสมบูรณ์ และความสะดวกในการตัดสินใจ

1.1.4. ช่วยเพิ่มพัฒนาการและความเข้าใจในศักยภาพการทำงานของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.1.5. ช่วยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลาย

1.2. ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

1.2.1. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล

1.2.2. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม

2. ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ

2.1. คำนิยาม AI ตามความสามารถที่มนุษย์ต้องการให้มันเป็น แบ่งได้ 4 กลุ่ม

2.1.1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์

2.1.2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์

2.1.3. ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล

2.1.4. ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล

2.2. ลักษณะงานของปัญญาประดิษฐ์

2.2.1. Cognitive Science งานด้านนี้เน้นงานวิจัยเพื่อศึกษาว่าสมองของมนุษย์ทำงานอย่างไร และมนุษย์คิดและเรียนรู้อย่างไร

2.2.2. Roboics พื้นฐานของวิศวกรรมและสรีรศาสตร์

2.2.3. Natural Interface งานด้านนี้ได้ชื่อว่าเป็นงานหลักที่สำคัญที่สุดของปัญญาประดิษฐ์

2.3. ประโยชน์ของระบบปัญญาประดิษฐ์

2.3.1. สามารถเข้าไปสืบค้นและหาคำตอบหรือหาคำปรึกษาได้ทุกเวลา

2.3.2. เพิ่มความสามารถให้กับฐาน

2.3.3. ช่วยทำงานในส่วนที่เป็นงานประจำหรืองานที่เบื่อหน่ายของมนุษย์

2.3.4. ช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึกส่วนตัวของมนุษย์มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ

2.4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)

2.4.1. ส่วนติดต่อกับผู้ใช้หรือบทสนทนา เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสื่อสารกับผู้ใช้

2.4.2. ฐานความรู้ เป็นกลุ่มของข้อเท็จจริงหรือความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงที่เป็นความรู้

2.4.3. กลไกอนุมาน เป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ใช้สำหรับค้นหาสารสนเทศจากฐานความรู้ เพื่อให้คำตอบ

2.5. ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ

2.5.1. ช่วยรักษาความรู้ที่อาจสูญเสียไปเมื่อเกิดการลดออกของพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญ

2.5.2. ช่วยทำให้ข้อมูลมีคุณภาพและมีศักยภาพในการนำมาใช้งานได้อย่างทันท่วงทีเมื่อต้องการ

2.5.3. ช่วยทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่

2.5.4. ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะที่อาจเกิดกับมนุษย์

2.5.5. ใช้เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ ด้านการตลาด การลดต้นทุน และการปรับปรุงพัฒนาสินค้า

3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

3.1. คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

3.1.1. ผู้พัฒนาจะต้องมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจ และปัจจัยสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์

3.1.2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร

3.1.3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง

3.1.4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน

3.1.5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร ต้องคำนึงถึงในการพัฒนา

3.2. ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

3.2.1. ง่ายต่อการใช้งาน

3.2.2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.2.3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น

3.2.4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน

3.2.5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ

3.2.6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

3.3. ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

3.3.1. ข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง

3.3.2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร

3.3.3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ

3.3.4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย

3.3.5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล

3.3.6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ

3.3.7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

3.4. คุณลักษณะของระบบสนับสนุนผู้บริหาร

3.4.1. มีการใช้งานบ่อย

3.4.2. ความยืดหยุ่นสูงสามารถเข้ากันได้กับรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร

3.4.3. การใช้งานใช้ในการตรวจสอบ ควบคุม

3.4.4. การสนับสนุนการตัดสินใจไม่มีโครงสร้างแน่นอน

3.4.5. ผลลัพธ์ที่แสดงจะเป็นตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย

3.4.6. การใช้งานภาพกราฟิกสูง จะใช้รูปแบบการนำเสนอต่างๆ

3.4.7. ความเร็วในการตอบสนองรวดเร็วทันทีทันใด

4. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

4.1. ประโยชน์ของสำนักงานอัตโนมัติ

4.1.1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร

4.1.2. ช่วยลดต้นทุนในการบริหาร

4.1.3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร

4.1.4. ประหยัดพื้นที่ในการเก็บข้อมูล

4.1.5. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

4.1.6. การจัดพิมพ์เอกสาร สามารถใช้เวลาน้อยลงและสะดวกขึ้น

4.1.7. การดำเนินงานต่าง ๆ เกี่ยวกับเอกสารและสารสนเทศเป็นระบบมากขึ้น

4.1.8. ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องและรวดเร็ว ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

4.2. องค์ประกอบของสำนักงานอัตโนมัติ

4.2.1. บุคลากร ได้แก่ ผู้จัดการหรือผู้บริหารทุกระดับ นักวิชาชีพ นักเทคนิค เลขานุการ

4.2.2. เอกสารข้อมูลสารสนเทศ เช่น ข้อความ เสียงภาพ ตัวเลข ภาพถ่าย

4.2.3. เทคโนโลยี เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงาน

4.2.4. การบริหารจัดการ

4.3. เทคโนโลยีเพื่อสำนักงานอัตโนมัติ ประกอบด้วย

4.3.1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

4.3.1.1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์

4.3.1.2. มนเฟรมคอมพิวเตอร์

4.3.1.3. มินิคอมพิวเตอร์

4.3.1.4. ไมโครคอมพิวเตอร์

4.3.2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม

4.3.2.1. โทรศัพท์

4.3.2.2. ระบบประชุมทางไกล

4.3.2.3. เทคโนโลยีสำนักงาน

4.3.3. เทคโนโลยีภาพกราฟฟิก

4.3.3.1. งานประมวลผลภาพกราฟิก

4.3.3.2. เครื่องมือที่ใช้งานภาพกราฟิก เชืนเครื่องพิมพ์เลเซอร์

4.3.3.3. โปแกรมอ่านอักขระด้วยแสง

4.4. ระบบอินเทอร์เน็ต

4.4.1. การใช้ทรัพยากรทางด้านระบบสำนักงานอัตโนมัติ

4.4.1.1. เครื่องจักรอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์

4.4.1.1.1. ระดับบุคคล ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ส่วนตัว

4.4.1.1.2. ระดับกลุ่ม เครื่องจักรอุปกรณ์ช่วย มีการติดต่อสื่อสารกันภายในกลุ่ม ปัจจุบันมีการสร้างข่ายงานบริเวณเฉพาะที่

4.4.1.1.3. ะดับองค์การ มีการวางเครือข่ายในรูปแบบเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เรียกว่า ข่ายงานบริเวณวิทยาเขต หรือเอนเตอร์ไพรส์เน็ตเวอร์ก

4.4.1.2. ซอฟต์แวร์

4.4.1.2.1. ระดับบุคคล ซอฟต์แวร์ระดับบุคคลส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป

4.4.1.2.2. ระดับกลุ่ม ผู้ผลิตซอฟต์แวร์หลายบริษัทเน้นซอฟต์แวร์ให้ใช้งานเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างกลุ่มงานตามโครงสร้างการเชื่อมฮาร์ดแวร์แบบแลน

4.4.1.2.3. ระดับองค์การ โดยทั่วไปการใช้งานระดับองค์การจะมีรูปแบบที่ทำงานร่วมกัน แต่ต่างมุมมองในเรื่องข้อมูล

4.4.1.3. ข้อมูลข่าวสาร

4.4.1.4. บุคลากร

5. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems :TPS)

5.1. ระบบประมวลผลรายการสามารถแบ่งตามวิธีการประมวลผลข้อมูล ได้แก่

5.1.1. ระบบการประมวลผลแบบออนไลน์

5.1.1.1. การประมวลผลเชิงรายการ

5.1.1.2. การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing)

5.1.2. ระบบการประมวลผลแบบกลุ่ม

5.2. วัตถุประสงค์ของ TPS

5.2.1. มุ่งหาสารสนเทศที่หน่วยงานต้องการตามนโยบาย เพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน

5.2.2. เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานให้มีความรวดเร็ว

5.2.3. เป็นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของหน่วยงานมีความถูกต้อง

5.2.4. เป็นสารสนเทศที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบใช้ในการตัดสินใจอื่น

5.3. หน้าที่ของ TPS มีดังนี้

5.3.1. การจัดกลุ่มของข้อมูล

5.3.2. การคิดคำนวณ

5.3.3. การเรียงลำดับข้อมูล

5.3.4. การสรุปข้อมูล

5.3.5. การเก็บ

5.4. กระบวนการของ TPS

5.4.1. การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวมไว้เป็นกลุ่มหรือเป็นชุด

5.4.2. ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น

6. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System : MIS )

6.1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะประกอบด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการ คือ

6.1.1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ

6.1.2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

6.2. ระบบย่อยสารสนเทศเพื่อการจัดการ

6.2.1. ระบบการจัดการรายการ

6.2.2. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบข้อมูล

6.2.3. ระบบสารสนเทศสำนักงานเป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในสำนักงานโดยอาศัยอุปกรณ์พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์

6.2.4. ระบบประมวลผลรายการ

6.3. บุคคลกรที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

6.3.1. หัวหน้างานระดับต้น

6.3.2. ผู้จัดการระดับกลาง

6.3.3. ผู้บริหารระดับสูง

6.4. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

6.4.1. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์

6.4.2. ช่วยผู้ใช้งานในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์และวางแผนปฏิบัติการ

6.4.3. ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบผลการดำเนินงาน

6.4.4. ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

6.4.5. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อหาวิธีควบคุม