1. ยากลุ่มเพนนิซิลิน
1.1. เพนนิซิลินธรรมชาติ
1.1.1. เพนนิซิลินวี
1.1.2. เพนนิซิลินจี
1.2. เพนนิซิลินกึ่งสังเคราะห์
1.2.1. Nafcillin
1.2.2. Ticarcillin
1.2.3. Cloxacillin
1.2.4. Carbenicillin
1.3. เพนนิซิลินที่ออกฤทธิ์แคบและทนต่อเพนนิซิลินเนส
1.3.1. เนพซิลิน
1.3.2. ออกซาซิลิน
1.3.3. คล็อกซาซิลิน
1.3.4. ไดคล็อกซาซิลิน
1.3.5. ฟล็อคซาซิลิน
1.4. อะมิโนเพนนิซิลินหรือเพนนิซิลินออกฤทธิ์กว้าง
1.4.1. แอมพริซิลิน
1.4.2. อะม็อกซี่ซิลิน
1.5. เพนนิซินลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้างและมีผลต่อสูโดโมนาส
1.5.1. คาร์เบนิซิล
1.5.2. ไทคาร์ซิลิน
1.6. เพนนิซิลินกลุ่มใหม่
1.6.1. แอสโลซิลิน
1.6.2. เมสโลซิิลิน
1.6.3. พิเปอราซิลิน
2. ยากลุ่มเตตราซัยคลิน
2.1. เตตราซัยคลินจากธรรมชาติ
2.1.1. คลอเตตราซัยคลิน
2.1.2. คลอร์เตตราซัยคลีน
2.1.3. อ็อกซี่เตตราซัยคลิน
2.2. เตตราซัยคลินกึงสังเคราะห์
2.2.1. เตตราซัยคลิน
2.2.2. ด็อกซี่ซัยคลิน
2.2.3. เมนทรามัยซิน
2.2.4. ไมโนซัยคลิน
2.3. แบ่งตามระยะเวลาการออกฤทธิ์
2.3.1. หมดฤทธิ์เร็ว
2.3.1.1. เตตราซันคลิน
2.3.1.2. อ็อกซี่ซัยคลิน
2.3.1.3. คลอเตตราซัยคลิน
2.3.2. ระยะเวลาปานกลาง
2.3.2.1. เมธาซัยคลิน
2.3.3. ออกฤทธิ์นาน
2.3.3.1. ด็อกซี่ซันคลิน
2.3.3.2. ไมโนซัยคลิน
3. ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์
3.1. ออกฤทธิ์แคบ
3.1.1. สเตรปโตมัยซินและไดไฮโดรสสเตรปโตมัยซิน
3.2. ออกฤทธิ์กว้าง
3.2.1. นีโอมัยซิน
3.2.2. กานามัยซิน
3.2.3. เจนต้ามัยซิน
3.2.4. สเปคติโนมัยซิน
3.2.5. อะมิโนไกลโคไซด์ชนิดอื่น
3.2.5.1. สเปคติโนมัยซิน
3.2.5.2. อพรามัยซิน
4. ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล
4.1. แยกได้จากเชื้อสเตร็ปโตไมเซส เวเนซูเอลี
4.2. เป็นยาที่ออกฤทธิ์กว้างคล้ายคลึงกับยากลุ่มเตตราไซคลีน
5. ยากลุ่มโพลีเปปไทด์
5.1. โพลีมิกซิน บีและโพลีมิกซิน อี
5.2. แบซิทราซิน
6. ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน
6.1. ไนโตรฟูราโซน
6.2. ไนโตรฟูแรนโตอิน
6.3. ฟูราโซริโดน
6.4. ฟูรัลตาโดน
6.5. ไนโตรฟูรัลดีโซน
7. ยากลุ่มควิโนโลน
7.1. นอร์ฟลอคซาซิน
7.2. เอ็นโรฟลอคซาซิน
7.3. ดาโนฟลอคซาซิน
7.4. โอฟลอคซาซิน
7.5. ไซโปรฟลอคซาซิน
7.6. ซีฟลอคซาซิน
8. ยากลุ่มมาโครไลด์
8.1. ไลโลซิน
8.2. อีรีโธรมันซิน
8.3. โรซิโธรมัยซิน
8.4. สไปรามัยซิน
8.5. ไมดิคามัยซิน
9. ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน
9.1. เซฟาโรสสปอรินรุ่นที่หนึ่ง
9.1.1. เซฟฟาโรธิน
9.1.2. เซฟฟาไพลิน
9.1.3. เซฟฟาโลลิน
9.1.4. เซฟฟาดีน
9.1.5. เซฟฟาเลกซิน
9.1.6. เซฟฟาดร็อกซิล
9.2. เซฟาโรสสปอรินรุ่นที่สอง
9.2.1. เซฟฟาแมนโดล
9.2.2. ซีโฟซิธิน
9.2.3. ซีฟูโรไซม์
9.2.4. ซีแฟคเลอร์
9.3. เซฟาโรสสปอรินรุ่นที่สาม
9.3.1. ซีโฟแทกไซม์
9.3.2. ม็อกซาแลคแตม
9.3.3. ซีโฟเพอราโซน
9.3.4. เซฟติซ็อกไซม์
9.3.5. เซฟไทอะโซน
9.3.6. เซฟตาซีดีม
9.3.7. เซฟซูโลดีน
9.3.8. เซฟเมโนไซม์
9.4. เซฟาโรสสปอรินรุ่นที่สี่
9.4.1. เซเฟไพม์
9.4.2. เซฟพิโรม
9.5. เซฟาโรสสปอรินรุ่นที่ห้า
9.5.1. Ceftobiprole
9.5.2. Ceftaroline
10. กลุ่มยาซัลฟาหรือโฟนาไมด์
10.1. ยาซัลโฟนาไมด์ที่ออกฤิทธิ์สั้น
10.1.1. กลุ่มยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อทั่วไป
10.1.1.1. ซัลฟาไธอะโซล
10.1.1.2. ซัลฟาเมธอกซาโซล
10.1.1.3. ซัลฟาเมทธาซีน
10.1.1.4. ซัลฟาไดอะซีน
10.1.1.5. ซัลฟาเมอราซีน
10.1.2. กลุ่่มยาที่ใช้รักษาโรคในทางเดินปัสสาวะ
10.1.2.1. ซัลฟาโซมิดีน
10.1.2.2. ซัลฟาฟูราโซล
10.1.2.3. ซัลฟิซอกซาโซล
10.1.2.4. ซัลฟาเมธาโซล
10.2. ยาซัลโฟนาไมด์ที่ออฤทธิ์นาน
10.2.1. ซัลฟาโซมิโซล
10.2.2. ซัลฟาไดเมธอกซีน
10.2.3. ซัลฟาเมธอกซีพัยริดาซีน
10.3. ยาซัลโฟนาไมด์ที่ดูดซึมได้ไม่ดี
10.3.1. ธาลาโซล
10.3.2. ซัลฟากัวนิดีน
10.3.3. ซัคซินิล
10.3.4. ซัลฟาไธอะโซล
10.4. ยาซัลโฟนาไมด์ที่ใช้เฉพาะที่
10.4.1. ซัลฟาเซตาไมด์
10.4.2. ซัลฟาเซตาไมด์
10.4.3. เมฟิไนด์