DQ ทักษะทางด้านความฉลาดทางดิจิทัล
by Phon Si Rin Puan Tha
1. 1.อัตลักษณ์ในโลกดิจิตอล (Digital identity) กล่าวคือ คนที่ใช้ชีวิตอยู่ในยุคดิจิตอลจะต้องมีทักษะในการสร้าง บริหารอัตลักษณ์และชื่อเสียงในโลกออนไลน์ของตัวเองให้เป็น ซึ่งนั่นรวมไปถึงการจัดการกับตัวตนในโลกออนไลน์ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวด้วย
1.1. พลเมืองดิจิทัล Digital Citizens เป็นกระแสที่แพร่หลายไปทั่วโลกนับตั้งแต่อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจกรรมด้าน ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ประเทศไทยให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจังหลังจากที่รัฐบาลผลักดันนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวัน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนควร เสริมสร้างศักยภาพการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวอย่างชาญฉลาดและก้าวเข้าสู่ความเป็นพลเมืองในยุคดิจิตอลได้อย่าง ภาคภูมิ
1.2. ผู้ร่วมสร้างดิจิทัล Digital Co-creator
1.3. ผู้ประกอบการ Digital entrepreneur
2. 2.การใช้เครื่องมือและสื่อดิจิตอล (Digital use) คือ ทักษะในการใช้เครื่องมือและสื่อในยุคดิจิตอล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถสร้างสมดุลให้กับชีวิตออนไลน์และออฟไลน์ได้อย่างดี มิใช่ดังเช่นที่เห็นปัจจุบันคือ หลายคนถูกเทคโนโลยีใช้ มิใช่ใช้เทคโนโลยี
2.1. การใช้เวลาหน้าจอ Screen Time ในการจับภาพหน้าจอ สามารถทำได้หลายวิธี ซึ่งสามารถทำได้โดยผ่านทางระบบปฏิบัติการ
2.2. สุขภาพการแพทย์ดิจิทัล Digital Health นวัตกรรมด้านสุขภาพและการใช้งานเทคโนโลยีสำหรับสุขภาพ ทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้น
2.3. การมีส่วนร่วมของชุมชน Community Participationการวิจัยแบบมีส่วนร่วมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุจากการมี ส่วนร่วมของชุมชนบ้านนาราชควาย ตำบลนาราชควาย อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม โดยใช้เทคนิคการประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่าง สร้างสรรค์(Appreciation Influence Control, AIC) เป็นเครื่องมือในการวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีเชิงคุณภาพโดยใช้การ สังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมวางแผนโดยการมีส่วนร่วมอย่าง สร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
3. 3.การอยู่ในโลกดิจิตอลอย่างปลอดภัย (Digital safety) หมายถึงทักษะในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน์ เช่น การไม่ไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying) ได้อย่างตลอดรอดฝั่ง รวมไปถึงการเกี้ยวพาราสี การเหยียดผิว-เหยียดชนชั้น รวมไปถึงเนื้อหาต่างๆ ที่สุ่มเสี่ยงเช่น เนื้อหาที่มีความรุนแรง โป๊เปลือย ลามกหยาบคายด้วย
3.1. ความเสี่ยงจากเนื้อหา Content Risks สารสนเทศน์ที่มีรูปแบบดิจิตอลโดยแสดงเนื้อหาผ่านสื่อดิจิตอลต่างๆ เป็นหลัก
3.2. ความเสี่ยงจากพฤติกรรม Behavioral Risks คววามเสี่ยงในการทำลอกเลียนแบบสิ่งที่ไม่ดีในสื่อต่างๆ
3.3. ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ Contact Risks ความเสี่ยงจากการนัดเจอกับคนที่ไม่รู้จัก หรือรู้จักกันในสื่อต่างๆ
4. 8 ทักษะ
5. ผู้จัดทำ ด.ช.เกียรติสกล อาษา เลขที่ 6 ด.ช.ธนมงคล จำปารี เลขที่ 9 ด.ช.ชนกานต์ หน่อคำ เลขที่ 17 ด.ญ.พรสิรินทร์ ปวนทา เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.3
6. ความสำคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ต่อการดำรงชีวิต
7. เขียนลายมือ จำเป็นไหมในยุคดิจิทัล?
8. 5.การแสดงอารมณ์ในโลกดิจิตอลอย่างชาญฉลาด (Digital emotional intelligence) กล่าวอีกนัยหนึ่งคือทักษะในการเข้าสังคมในโลกออนไลน์ เช่น การแสดงความเห็นอกเห็นใจ เสียใจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี สนุกสนาน ฯลฯ เพื่อสานสัมพันธ์กับผู้คนในโลกออนไลน์
8.1. ความเอาใจใส่ เข้าใจความรู้สึก Empathy การรับรู้และเกิดความเข้าใจในสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นกับอีกบุคคลหนึ่งอย่างแท้จริง
8.2. การรับรู้/การควบคุมอารมณ์ Emotiona Awareness/Regulation การควบคุมอารมณ์ตนเอง (อังกฤษ: Emotional self-regulation) เป็นความสามารถในการตอบสนองทางอารมณ์ต่อประสบการณ์ในรูปแบบที่สังคมยอมรับได้แต่ยืดหยุ่นพอที่จะเป็นปฏิกิริยาแบบฉับพลัน และเป็นความสามารถในการผัดผ่อนปฏิกิริยาแบบฉับพลันถ้าจำเป็น[1] หรือสามารถนิยามได้ว่า เป็นกระบวนการไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือภายในที่มีหน้าที่ตรวจสอบ ประเมิน และเปลี่ยนปฏิกิริยาทางอารมณ์[2] การควบคุมอารมณ์ของตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการควบคุมอารมณ์ ซึ่งรวมการควบคุมทั้งตัวเองและผู้อื่น
8.3. การตระหนักรู้ทางสังคมและอารมณ์Social&Emotional Awereness ความสามารถของเด็กในการแสดงออกถึงการรับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสิ่งแวดล้อมการแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
9. 6.การสื่อสารในโลกดิจิตอล (Digital communication) คือ ความสามารถในการสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ และร่วมมือกับผู้อื่นโดยใช้เทคโนโลยีและสื่อดิจิตอล
9.1. ร่องรอยเท้าดิจิทัล Digital FootprintsDigital Footprint คืออะไร จริง ๆ แล้วก็แปลตามตัวนั้นละว่าคือร่องรอยการกระทำต่าง ๆ ที่ฝังหรือตามได้ในโลก Digital ของเรา ไม่ว่าจะเป็นข่าวที่พูดถึงเรา หรือ Blog, การโพสเว็บบอร์ด และ Digital Profile ต่าง ๆ อย่าง Twitter, Instagram และ Facebook ซึ่งหลาย ๆ อย่างนั้นเราเปิดเป็น Public และทำให้คนต่าง ๆ เข้ามาดูได้และรับรู้ว่าเราเป็นอย่างไรส่วนหนึ่งผ่านทาง Digital Footprint พวกนี้ ทำให้เหล่า Hacker นั้นสามารถมาเรียนรู้และเดาเรื่องต่าง ๆ หรือสืบเรื่องต่าง ๆ ได้ไม่ยาก และเข้าไปเจาะเอาข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมมาได้มากมาย จนสร้างความเสียหายให้กับคนที่ข้อมูลรั่วได้ ทั้งนี้การสืบ Digital Footprint นั้นเป็นวิธีการหนึ่งที่องค์กรในยุคใหม่นี้ใช้ทำอะไรหลาย ๆ อย่างที่เราคาดไม่ถึงอย่างเช่น การสมัครงานที่หลาย ๆ ครั้งนั้นผู้สมัครไม่รู้เลยว่าเมื่อยื่นใบสมัครไปแล้ว HR หรือฝ่ายบุคคลหรือคนที่ดูแลเรื่องการรับบุคคลนั้น ๆ จะเอาชื่อเราไปค้นหาผ่านทาง Google เพื่อดูว่าคน ๆ นั้นเป็นอย่างไร และทัศนะคติเป็นอย่างไรเพื่อประกอบการเรียกหรือไม่เรียกสัมภาษณ์
9.2. การสื่อสารออนไลน์ Online Communicationเป็นการใช้สื่อใหม่บนกลุ่มเป้าหมายใหม่ๆ
9.3. ความร่วมมือออนไลน์ Online Collaborationการนำแบบร่วมมือกับคนอื่น (COLLABORATIVE LEADERSHIP) คือทฤษฎีและวิธีการบริหารจัดการซึ่งเน้นทักษะและคุณลักษณะของการนำแบบร่วมมือกันข้ามกลุ่มหรือองค์กร เพื่อผลประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน แนวคิดนี้เกิดขึ้นในราวกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 เพื่อตอบสนองการเติบโตของการเป็นพันธมิตรในเชิงยุทธศาสตร์ (STRATEGIC ALLIANCES)ระหว่างองค์กรธุรกิจ และการก่อตัวของความเป็นหุ้นส่วนระยะยาวระหว่างภาคธุรกิจเอกชนกับภาคสาธารณะชน เพื่อสร้างโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรวม
10. 7.การบริหารจัดการลิขสิทธิ์ดิจิตอล (Digital Rights) หมายถึงความเข้าใจในสิทธิเฉพาะตัว และสิทธิทางกฎหมาย รวมไปถึงสิทธิความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สินทางปัญญา เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และหลีกเลี่ยงถ้อยคำแห่งความเกลียดชังของทั้งตัวเองและผู้อื่น
10.1. เสรีภาพในการพูด Freedom of Speechเสรีภาพในการพูด (อังกฤษ: freedom of speech) หรือเสรีภาพในการแสดงออก (อังกฤษ: freedom of expression) เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูด คำวา เสรีภาพในการแสดงออก บางครั้งใช้เป็นคำไวพจน์ แต่ยังรวมไปถึงพฤติการณ์ใด ๆ ในการแสวงหา ทั้งด้วยการพูด การแสดงท่าทาง หรือการสื่อสารด้วยตัวหนังสือ ไม่ว่าจะบนหน้ากระดาษหรือในโลกออนไลน์ ตลอดจนในรูปแบบอื่นๆ เช่น เสียงเพลง ภาพถ่าย ภาพกราฟิกหรือภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการค้นคว้า หา เข้าถึงหรือได้รับข้อมูล ความรู้สึกนึกคิด ความเห็นที่มีการสื่อสารและเผยแพร่และนำข้อสนเทศหรือความคิดโดยไม่คำนึงถึงสื่อที่ใช้ ในทางปฏิบัติ สิทธิในเสรีภาพการพูดมิได้มีสมบูรณ์ในทุกประเทศ และสิทธินี้โดยทั่วไปมักถูกจำกัด เช่นเดียวกับการหมิ่นประมาท การดูหมิ่นซึ่งหน้า ความลามก และการยุยงให้ก่ออาชญากรรม
10.2. การคุ้มครองสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญาIntellectual Property Rightsทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง สิทธิทางกฎหมายที่ให้เจ้าของสิทธิ หรือ "ผู้ทรงสิทธิ" มีอยู่เหนือสิ่งที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญาของมนุษย์ โดยอาจแบ่งทรัพย์สินทางปัญญาออกได้ 2 ประเภทหลัก คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมและ ลิขสิทธิ์ สำหรับทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมยังแบ่งออกได้อีก 5 ประเภท ได้แก่ สิทธิบัตร (2) อนุสิทธิบัตร (3) เครื่องหมายการค้า (4) ความลับทางการค้า และ (5) สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (6) แบบผังภูมิของวงจรรวม (7) คุ้มครองพันธุ์พืช (8) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
10.3. ความเป็นส่วนตัว Privacyสิทธิของบุคคลที่ประกอบไปด้วยสิทธิของบุคคลในครอบครัวในเรื่องดังกล่าวน่าจะจัดอยู่ในเรื่องของความเป็นอยู่ส่วนตัวซึ่งหมายความว่า ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆ
11. 8.การรู้ดิจิตอล (Digital Literacy) ทักษะนี้ดูเหมือนจะครอบคลุมทักษะอื่นๆ 7 ข้อ ที่กล่าวมาข้างต้น แต่ปาร์คระบุรายละเอียดว่า หมายความถึง ความสามารถในการค้นหา ประเมิน ใช้ประโยชน์ แบ่งปัน และสร้างสรรค์เนื้อหา รวมไปถึงความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ หรือ คิดเชิงประมวลผล (computational thinking)
11.1. การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบComputational ThinkingComputational Thinking (CT) คืออะไร? Computational Thinking (CT) เป็นกระบวนการคิดที่ต้องใช้ทักษะและเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเช่นที่ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) หรือ วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ใช้ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งแก่นแท้คือการแก้ปัญหา แบบมีลำดับขั้นตอนให้กลายเป็นเรื่องที่สายอาชีพอื่นๆ สามารถนำแนวคิดลำดับขั้นตอนไปแก้ปัญหาในเชิงนามธรรม อย่างการจัดการแถวขบวนของเจ้าของร้านอาหารที่จะทำยังไงให้ไม่เกิดภาวะต่อคิวยาวนาน หรือปัญหา Classics ที่ให้นักทำบัญชีหาวิธีการใช้เครื่องมืออื่นๆ มาช่วยบันทึกยอดมากกว่าจดลงกระดาษแล้วใช้เครื่องคิดเลขกระทบยอด เป็นต้น กระบวนการ Computational Thinking (CT) ประกอบไปด้วย
11.2. การสร้างสรรค์เนื้อหา Content Creationการสื่อสารเพื่อให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าไม่ใช่เรื่องง่าย ความแตกต่างทางวัฒนธรรมถือมีส่วนสำคัญในการสร้างกลยุทธ์์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อเข้าถึงผู้บริโภค และในฐานะที่เป็นบริษัทที่เชื่อมั่นในคุณภาพและการมอบผลลัพธ์
11.3. การคิดวิเคราะห์ Critical thinkingการคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงวิพากษ์ หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ[4][5] (อังกฤษ: critical thinking) เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น
12. 4.ระบบความปลอดภัยดิจิทัล Digital Security
12.1. การป้องกันรหัสผ่าน Password Protection เป็นการป้องกันเพื่อกันไม่ให้ผู้อื่นเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวเราได้
12.2. ระบบความปลอดภัยบนมือถือ Mobile Securityการจัดการระยะไกล ล็อค/ปลดล็อค รวมถึงสั่งล้างข้อมูลในมือถือทั้งหมดจากระยะไกล รักษาความปลอดภัยอุปกรณ์ ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมืออย่างเช่น Mobile Device Management (MDM) ควบคุมการใช้งานแอพพลิเคชั่น ตรวจสอบแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์และบล็อคการเข้าถึงแอพพลิเคชั่น ป้องกันการโจรกรรมข้อมูล รักษาความปลอดภัยข้อมูลบนอุปกรณ์ที่สูญหายหรือถูกขโมย
12.3. ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต Internet Security มีการป้องกันหลายชั้นเพื่อให้คุณปลอดภัย และให้อุปกรณ์ของคุณใช้งานได้อย่างราบรื่น คุณสมบัติขั้นสูงทั้งหมดด้านล่างอยู่ในซอฟต์แวร์ Internet Security การป้องกัน ไฟร์วอลล์ กันแฮกเกอร์ไว้อีกนอกกำแพงด้วยสุดยอดคุณสมบัติด้านการรักษาความปลอดภัยซึ่งจะคอยตรวจตราและควบคุมทุกสิ่งที่เข้าและออกจากคอมพิวเตอร์ของคุณ แอนติสแปม หลบหลีกสแปมและเนื้อหาที่ประสงค์ร้ายเพื่อให้คุณสามารถมุ่งความสนใจที่อีเมลสำคัญเท่านั้น Real Site ปกป้องคุณจากแฮกเกอร์ที่พยายามเจาะการตั้งค่าระบบการตั้งชื่อโดเมน นำคุณเข้าสู่เว็บไซต์ปลอม และขโมยรายละเอียดการเงินของคุณ Wi-Fi Inspector ตรวจจับจุดอ่อนของ Wi-Fi ในที่อยู่อาศัยของคุณ รวมทั้งคนแปลกหน้าที่ลักลอบใช้เครือข่ายของคุณโดยอัตโนมัติ การปกป้อง แอนติไวรัสอัจฉริยะ ตรวจจับและบล็อกไวรัส มัลแวร์ สปายแวร์ แรนซัมแวร์ และฟิชชิ่ง เราใช้การวิเคราะห์อัจฉริยะเพื่อหยุดยั้งภัยคุกคามก่อนที่คุณจะได้รับผลกระทบ CyberCapture ส่งไฟล์ที่น่าสงสัยไปยังคลาวด์เพื่อการวิเคราะห์โดยอัตโนมัติ และดำเนินการแก้ไขให้ผู้ใช้ Avast ทุกคน หากไฟล์นั้นๆ เป็นภัยคุกคาม Behavior Shield ตรวจจับและบล็อกรูปแบบการปฏิบัติงานที่น่าสงสัยภายในเวลาไม่ถึงวินาทีเพื่อป้องกันแรนซัมแวร์และภัยคุกคามที่ไม่รู้จัก การสแกนอัจฉริยะ ค้นหาช่องโหว่ที่ทำให้มัลแวร์แฝงตัวเข้ามาได้ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่าและรหัสผ่านที่ไม่ปลอดภัยไปจนถึงส่วนเสริมที่น่าสงสัยและซอฟต์แวร์ที่ล้าสมัย ใหม่เกราะป้องกันแรนซัมแวร์ บล็อกแรนซัมแวร์และแอปที่ไม่น่าเชื่อถืออื่นๆ จากการเปลี่ยนแปลง ลบ หรือเข้ารหัสรูปถ่ายและไฟล์ส่วนตัวของคุณ Sandbox ทดสอบและลองใช้งานไฟล์ที่น่าสงสัยในบริบทที่ปลอดภัยก่อนที่คุณจะเปิดใช้งานบนคอมพิวเตอร์ของคุณเพื่อให้มั่นใจว่าไฟล์เหล่านั้นจะไม่สร้างความเสียหายบนคอมพิวเตอร์ของคุณ เบราว์เซอร์ SafeZone ท่องอินเทอร์เน็ตและช้อปปิ้งออนไลน์อย่างปลอดภัยโดยไม่ต้องติดตั้งหรือตั้งค่าส่วนเสริมใดๆ เบราว์เซอร์ของเรามาพร้อมกับคุณสมบัติความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวที่คุณต้องการ ความเป็นส่วนตัว Passwords ล็อคบัญชีทั้งหมดของคุณรหัสผ่านที่ปลอดภัยเพียงรหัสเดียว เราจะจัดการส่วนที่เหลือเพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย