1. มาตรฐานที่ 1 การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ต้องใช้ กระบวนการพยาบาลแก่ผู้รับบริการอย่างเป็นองค์รวมทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตาม ศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟู สภาพ โดยผู้รับบริการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม และมีการประสานความร่วมมือในทีมการพยาบาลและทีมสห สาขาวิชา
2. มาตรฐานการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Standard of Nursing and Midwifery Service Organization)
2.1. มาตรฐานที่ 1 การจัดองค์กรและการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.1.1. 1.1 การบริหารจัดการการพยาบาลด าเนินการโดยองค์กรการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.1.2. 1.2 ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรเป็นพยาบาลวิชาชีพ
2.1.3. 1.3 องค์กรการพยาบาลและการผดุงครรภ์มีอ านาจ หน้าที่และความรับผิดชอบในการก าหนด ปรัชญา นโยบายทางการพยาบาลเพื่อเป็นทิศทางการปฏิบัติของทุกหน่วยงานบริการพยาบาลและการผดุง ครรภ์
2.1.4. 1.3 องค์กรการพยาบาลและการผดุงครรภ์มีอำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบในการกำหนด ปรัชญา นโยบายทางการพยาบาลเพื่อเป็นทิศทางการปฏิบัติของทุกหน่วยงานบริการพยาบาลและการผดุง ครรภ์
2.1.5. 1.4 องค์กรการพยาบาลและการผดุงครรภ์มีโครงสร้างและขอบเขตงานในความรับผิดชอบชัดเจน
2.1.6. 1.5 มีระบบและกลไกการบริหารที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากร และการประสานความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงาน
2.1.7. 1.6 มีนโยบาย เป้าหมายและแผนงานที่ส่งเสริมคุณภาพบริการพยาบาล และการส่งเสริมเอกสิทธิ์ ในการปฏิบัติการพยาบาล
2.2. พยาบาลพึงให้บริการพยาบาลด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีโดยไม่จำกัดในเรื่องสถานภาพ
2.2.1. 3.1 การบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ต้องคำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของ ผู้รับบริการมีการกำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติ(Nursing Policy & Procedures) แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย (Nursing Standard of Patient Care) ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์รวมทั้งกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องและขอบเขตการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.3. มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
2.3.1. 2.1 มีระบบและกลไกการคัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน
2.3.2. 2.2 พยาบาลทุกระดับมีคุณสมบัติเหมาะสมและประสบการณ์ที่เพียงพอ
2.3.2.1. 2.2.1 พยาบาลทุกคนต้องมีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ตามกฎหมายวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์
2.3.2.2. 2.2.2 พยาบาลวิชาชีพระดับหัวหน้าหน่วย / หอผู้ป่วย
2.3.2.2.1. ได้รับการศึกษาต่อ และ/หรือฝึกอบรมในสาขาที่ให้บริการนั้น ๆ
2.3.2.2.2. มีประสบการณ์ด้านการบริหาร และ/หรือผ่านการฝึกอบรมด้านบริหาร
2.3.2.3. 2.2.3 พยาบาลวิชาชีพระดับผู้บริหารสูงสุดขององค์กรการพยาบาล
2.3.2.3.1. สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และได้รับการอบรมด้านการ บริหาร หรือสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่า หรือปริญญาเอก
2.3.2.3.2. มีประสบการณ์ด้านการบริหารในระดับหอผู้ป่วยหรือหน่วยงาน
2.3.3. 2.3 มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ (Jobdescriptions) และ คุณสมบัติเฉพาะ ตำแหน่ง (Jobspecification) ของผู้ให้บริการการพยาบาลทุกระดับชัดเจนตามลักษณะงานที่รับผิดชอบ
2.3.4. 2.4 การจัดอัตราก าลังเหมาะสมกับความต้องการบริการพยาบาล (Nursing needs)
2.3.5. 2.4 การจัดอัตรากำลังเหมาะสมกับความต้องการบริการพยาบาล (Nursing needs)
2.3.6. 2.5 มีการจัดการเตรียมการการควบคุมก ากับและการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้รับบริการว่าจะได้รับการบริการที่มีคุณภาพ
2.3.7. 2.5 มีการจัดการเตรียมการการควบคุมกำกับและการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้รับบริการว่าจะได้รับการบริการที่มีคุณภาพ
2.3.8. 2.6 มีระบบการพัฒนาความรู้ ความสามารถบุคลากรเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาลที่ทันสมัย
2.4. มาตรฐานที่ 3 การจัดระบบงาน และกระบวนการให้บริการการพยาบาล และการผดุงครรภ์
2.4.1. 3.1 การบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ต้องคำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของ ผู้รับบริการมีการกำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติ(NursingPolicy&Procedures) แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย (NursingStandardofPatientCare) ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์รวมทั้งกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องและขอบเขตการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.4.2. 3.2 มีพยาบาลวิชาชีพเป็นหัวหน้าทีมการพยาบาลในการให้บริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตลอดระยะเวลาที่ให้บริการ
2.4.3. 3.3 การมอบหมายงานให้แก่บุคลากรที่มีความรู้และทักษะต่ำกว่าระดับวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ต้องไม่ใช่งานในระดับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และมีพยาบาลผดุงครรภ์ ระดับ วิชาชีพเป็นผู้กำกับดูแล
2.4.4. 3.4 กำหนดนโยบาย และสนับสนุนการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและ การผดุงครรภ์
2.4.5. 3.5 มีกลไกส่งเสริมให้พยาบาลและผดุงครรภ์ประกอบวิชาชีพที่ได้มาตรฐาน และธำรงไว้ซึ่ง จริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
2.4.6. 3.6 มีการจัดระบบสารสนเทศ และใช้ข้อมูลสารสนเทศทางการพยาบาล ในการบริหารจัดการ การดูแลช่วยเหลือผู้รับบริการและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.5. มาตรฐานที่ 4 ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.5.1. 4.1 มีนโยบายและแผนงานการจัดการคุณภาพการพยาบาล และการผดุงครรภ์
2.5.2. 4.2 มีระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
2.5.3. 4.3 มีระบบประกันคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.5.4. 4.4 มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)
3. การปฎิบัติการพยาบาลโดยอิสระ(Independent nursing)
3.1. พยาบาลสามารถใช้ความรู้ความสามารถได้อย่าอิสระโดยไม่ต้องมีคำสั่งการรักษา เช่นการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
4. บทบาทของพยาบาล
4.1. 1.บทบาทการบรรเทาอาการหรือการพยาบาลแบบประคับประคอง (Alleviative or palliative role)
4.2. 2.บทบาทการสร้างเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสภาพร่างกาย (Ptomotive role and rehabilitative role)
4.3. 3.บทบาทการป้องกันโรค (Proventive role)
4.4. 4.บทบาทการรักษาพยาบาล (Curativerole)
4.5. 5.บทบาทการสอนและแนะนำ (Teachingrole)
5. ขอบเขตความรับผิดชอบ
5.1. การปฏิบัติการพยาบาลไม่อิสระ (Dependent nursing
5.1.1. พยาบาลต้องปฎิบัติร่วมกันวิชาชีพอื่นเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับการดูแลรักษาอย่างปลอดภัยและถูกต้อง
6. ทักษะที่สำคัญของพยาบาลยุค 4.0
6.1. 1.ความสามารถในการประเมินปัญหา
6.2. 2.ความสามารถในการให้การพยาบาลสอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัวแต่ละราย
6.3. 3.ความสามารถในการปรับปรุงการพยาบาลให้เหมาะสมกับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย
6.4. 4.ความสามารถในการคาดการล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหาฉุกเฉินและรายงานได้ทันท่วงที
6.5. 5.ความสามารถในการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเหตุการณ์
6.6. 6.ตัดสินวินิจฉัยสั่งการได้เป็นอย่างดี มีเหตุผล
6.7. 7.มีความสามารถในการให้ความรู้และให้การปรึกษาเพื่อสนับสนุนการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัว
6.8. 8.ความสามารถในการให้พยาบาล/ช่วยเหลือจนท.ระดับต่ำกว่าในกรณีที่ต้องให้การพยาบาลที่ซับซ้อน
6.9. 9.ความสามารถประยุกต์ความรู้การปฏิบัติงานได้อย่างมีเหตุผล
6.10. 10.ความสามารถให้ข้อเสนอแนะแก่ทีมงานในการแก้ไขปัญหาของผู้ป่วย
7. สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ
7.1. สมรรถนะที่ 1
7.1.1. ด้านพฤติกรรมการให้บริการทางคลินิก (clinical behavior)
7.1.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย มีความอิสระในการดูแลผู้ป่วย หลักการและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงาน
7.2. สมรรถนะที่ 3
7.2.1. ด้านลูกค้าสัมพันธ์/บริการลูกค้า (customer – focused service / customer relations management)
7.2.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการให้บริการพยาบาลที่ตอบสนองความต้องการและพิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย แสวงหาแนวทางในการปรับปรุงระบบการให้บริการเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการ
7.3. สมรรถนะที่ 4
7.3.1. ด้านการสื่อสารและประสานงาน (communication)
7.3.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการเป็นผู้ฟังที่ดี ให้เกียรติเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ ลดอุปสรรคของการติดต่อสื่อสาร
7.4. สมรรถนะที่ 5
7.4.1. ด้านการพัฒนาความรู้ ความสามารถ (knowledge and skill development)
7.4.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลที่แสดงออกถึงการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน การประเมินตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองและพัฒนาตนเองทางด้านวิชาการเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
7.5. สมรรถนะที่ 6
7.5.1. ด้านวิชาการและการวิจัย (scholarly activities)
7.5.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการใช้องค์ความรู้ตามหลักการและทฤษฎีการพยาบาล ริเริ่มค้นคว้าความรู้ใหม่ ๆ มีความใฝ่รู้ มีทักษะ แสวงหาความรู้ พัฒนาบทบาทของตนด้านวิชาการและวิจัยด้วยการทำวิจัย จัดทำผลงานทางวิชาการ สอนและเผยแพร่ความรู้สู่สังคมได้
7.6. สมรรถนะที่ 7
7.6.1. ด้านการจัดข้อมูล (information management)
7.6.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการประเมินผลการให้บริการพยาบาล วิเคราะห์และใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
7.7. สมรรถนะที่ 8
7.7.1. ด้านการคิดวิเคราะห์และการตัดสินใจ (decision making and critical thinking)
7.7.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพในระดับบุคคลและครอบครัว ทักษะในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน โดยอาศัยความรู้และทักษะภายใต้จรรยาบรรณ จริยธรรมของวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน
7.8. สมรรถนะที่ 9
7.8.1. ด้านการวางแผน (strategic management)
7.8.1.1. พฤติกรรมของพยาบาลในการวางแผนเพื่อการดูแลสุขภาพบุคคลและครอบครัว รวมถึงการวางแผนการพัฒนา ปรับปรุงระบบงาน กลวิธีการให้บริการพยาบาลให้มีคุณภาพอยู่เสมอ
7.9. สมรรถนะที่ 2
7.9.1. ด้านภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (leadership teamwork collaboration)
7.9.1.1. การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ทำงานร่วมกับทีมสุขภาพในการวางแผนให้การดูแลผู้ป่วย สามารถมอบหมายงานบุคลากรระดับรองได้อย่างเหมาะสม เป็นตัวอย่างของการเป็นผู้นำด้านการปฏิบัติงานของวิชาชีพพยาบาล
8. จรรยาบรรณวิชาชีพ
8.1. พยาบาลพึงเคารพสิทธิของผู้ป่วย โดยรักษาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยไว้เป็นความลับ
8.2. พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย
8.3. พยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการตัดสินใจ
8.4. พยาบาลพึงดำรงไว้ซึ่งสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาล
8.5. พยาบาลพึงมีส่วนร่วมและสนับสนุนในกิจกรรมการพัฒนาความรู้เชิงวิชาชีพ
8.6. พยาบาลพึงมีส่วนร่วมและสนับสนุนในการพัฒนาวิชาชีพและส่งเสริมมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล
8.7. พยาบาลพึงมีส่วนร่วมในการที่จะกำหนดและดำรงไว้ซึ่งสถานภาพของการทำงานที่จะนำไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลที่มีคุณภาพสูง
8.8. พยาบาลพึงร่วมมือและเป็นครือข่ายกับสมาชิกด้านสุขภาพอนามัยและบุคคลอื่นๆเพื่อส่งเสริมชุมชน
8.9. พยาบาลพึงมีส่วนร่วมในการปกครองคุ้มครองสังคมจากการเสนอข้อมูลที่ผิดและดำรงไว้ซึ่งความสมัคคีในวิชาชีพ
8.10. พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วยในกรณีที่มีการบริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
9. หน้าที่ของพยาบาล
9.1. การประเมินผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ (Assessment)
9.1.1. ประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยอย่างถูกต้องครบถ้วน
9.1.2. การรวบรวมข้อมูลอย่างครบถ้วนตามมาตรฐานการดูแล
9.2. การจัดการกับอาการรบกวนต่างๆ (Symptom Distress Management)
9.3. การดูแลความปลอดภัย (Provision for Patient Safety)
9.3.1. การจัดการให้ผู้ป่วยได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
9.3.2. การจัดการดูแลอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ และอุปกรณ์จำเป็น
9.3.3. การจัดการ การส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับมีการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน
9.4. การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นระหว่างรักษาพยาบาล (Prevention of complication)
9.5. การให้การดูแลต่อเนื่อง
9.6. การสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย
9.7. การสร้างความพึงพอแก่ผู้ป่วย (Enhancement of patient satisfaction)
10. มาตราฐานวิชาชีพ
10.1. มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Standard)
10.1.1. มาตรฐานการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Standard of Nursing and Midwifery Service Organization)
10.1.2. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Practice Standard)
10.1.3. มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Outcome Standard)
10.2. พยาบาลพึงตัดสินใจด้วยความรอบรอบคอบถี่ถ้วน
10.3. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Practice Standard)
10.3.1. มาตรฐานที่ 2 การรักษาสิทธิผู้ป่วย จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งการปฏิบัติเพื่อปกป้องและรักษา ไว้ซึ่งสิทธิที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการรักษาพยาบาลของผู้รับบริการ
10.3.2. มาตรฐานที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ปฏิบัติการพยาบาลและ การผดุงครรภ์บนพื้นฐานของศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ที่ทันสมัย โดยยึดผู้รับบริการเป็น ศูนย์กลาง มีการทบทวน ประเมินกระบวนการการดูแล ผู้รับบริการอย่างเป็นระบบ มีการนำความรู้จากการ วิจัยมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์อย่างต่อเนื่อง
10.3.3. มาตรฐานที่ 4 การจัดการ การดูแลต่อเนื่อง ให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการวางแผนร่วมกับทีมสุขภาพ ผู้รับบริการและ/หรือผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผู้รับบริการในการดูแลตนเอง และสามารถใช้แหล่งประโยชน์ในการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม
10.3.4. มาตรฐานที่ 5 การบันทึกและรายงานบันทึกและรายงานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้ครอบคลุม การดูแลผู้รับบริการตามกระบวนการพยาบาล โดยครบถ้วน ถูกต้องตามความเป็นจริง ชัดเจน กะทัดรัด มี ความต่อเนื่องและสามารถใช้เพื่อประเมินคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ได้
10.4. มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Outcome Standard)
10.4.1. 4.1 ความปลอดภัยจากความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ทั้งด้าน กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
10.4.2. 4.2 ผู้รับบริการได้รับการบรรเทาจากความทุกข์ทรมาน ทั้งด้านกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
10.4.3. 4.3 ความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
10.4.4. 4.4 ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้รับบริการ
10.4.5. 4.5 ความพึงพอใจของผู้รับบริการและสิทธิที่พึงได้รับ