1. เทคโนโลยีสัมพันธ์ เป็นการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูงสุดต่ำหรือเทคโนโลยีพื้นบ้านขึ้นมา เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีนั้นมากขึ้นมีบทบาทในการเสริมความสามารถรู้และประสบการณ์ ให้กับนุษย์ในสังคม
2. 5. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
2.1. เป็นอุตสาหกรรมด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทน์ยังมีระดับต่ำและการ แพร่กระจายไปยังผู้ใช้เทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับ อุตสาหกรรมท้องถิ่น เป็นประโยชน์และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2.2. รูปแบบการใช้เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศขึ้นอยู่กับชนิดโครงการที่ต้องการพัฒนา ซึ่งประเทศไทยต้องใช้เทคโนโลยี 5 แบบ คือ 1. เทคโนโลยีด้านมาตรวิทยา 2. เทคโนโลยีด้านเทคนิคการผลิตและการควบคุมคุณภาพ 3.เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบและการผลิต 4.เทคโนโลยีด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์และคุณภาพ 5.เทคโนโลยีด้านการจัดการต้นทุนมาตรฐานสินค้าและสิ่งแวดล้อม
2.3. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการประดิษฐ์คิดค้นและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 3 ประการคือ 1. การสร้างบรรยากาศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 3. การสร้างบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. 4. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า
3.1. เทคโนโลยีที่นำเข้า
3.1.1. กล่าวคือ
3.1.1.1. เทคโนโลยีทางการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย จะมีอยู่ในระดับสูง แต่เทคโนโลยีอุตสาหกรรม รวมทั้งเทคโนโลยีด้านอื่น ๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศ ยังกล่าว ได้ว่าอยู่ในระดับต่ำ เช่น เทคโนโลยีทางการแพทย์ การสื่อสาร โทรคมนาคม การขนส่ง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีเหล่านี้ จำเป็นต้องรับเอามาจากต่างประเทศ และนำมาพัฒนา ปรับปรุง ให้เหมาะสม กับสภาพสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิต
3.1.2. 1) เทคโนโลยีการเกษตร
3.1.2.1. เทคโนโลยีการเกษตร ที่จำเป็นต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ ได้แก่ สารเคมีป้องกันกำจัด ศัตรูพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ซึ่งเป็นการปลูกพืชในน้ำยา ที่มีธาตุอาหารครบ ทำให้สามารถ ควบคุมผลผลิต และคุณภาพของพืชได้ นอกจากนี้อาจจะต้อง นำเข้า เทคโนโลยี ในการเก็บรักษา คุณภาพ ผลิตผลทางการเกษตร เพื่อการส่งออก เครื่องจักรกล ที่ทันสมัย มาช่วยทุ่นแรงในการ ทำไร่นา
3.1.3. 2) เทคโนโลยีชีวภาพ
3.1.3.1. เทคโนโลยีชีวภาพ มีการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภาพ จากต่างประเทศมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ทางด้านการแพทย์ เช่น การผลิตวัคซีน ป้องกันโรคต่าง ๆ การผลิตยาบางชนิด
3.1.4. 3) เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม
3.1.4.1. เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม มีการนำเข้าเทคโนโลยี เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรม เคมี เช่น อุตสาหกรรมกรดกำมะถัน ต้องใช้วัตถุดิบ จากต่างประเทศ
3.1.5. 4) เทคโนโลยีทางการแพทย์
3.1.5.1. เทคโนโลยีทางการแพทย์ เช่น เทคโนโลยีการผลิต และการพัฒนายาใหม่ เทคโนโลยีการ วินิจฉัยโรค เทคโนโลยีของอวัยวะเทียม เป็นต้น
3.1.6. 5) เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคม
3.1.6.1. เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคม นับเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง สำหรับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ในปัจจุบัน และอนาคต ระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่ใช้กันในชีวิตประจำวัน เช่น โทรเลข โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ โทรสาร อินเตอร์เน็ต เป็นต้น ล้วนแต่เป็นเทคโนโลยี ที่นำเข้าจาก ต่างประเทศแทบทั้งสิ้น
3.1.7. 6) เทคโนโลยีการขนส่ง
3.1.7.1. เทคโนโลยีการขนส่ง ได้แก่ การเดินรถ เช่น รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้าการเดินเรือ เครื่องบิน การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ เป็นต้น
3.1.8. 7) เทคโนโลยีระดับสูง (ไฮเทค)
3.1.8.1. เทคโนโลยีระดับสูง (ไฮเทค) ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์การสื่อสาร ระบบเลเซอร์ หุ่นยนต์ เป็นต้น
3.1.9. 8) เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์
3.1.9.1. เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ นับเป็นกำลังสำคัญ ในการผลักดันความก้าวหน้า ด้านอุตสาหกรรม เป็นอย่างมาก
3.2. เทคโนโลยีท้องถิ่น
3.2.1. หมายถึง
3.2.1.1. คโนโลยีดั้งเดิม ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ในการดำเนิน ชีวิต การทำมาหากิน การต่อสู้กับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม ของคนในท้องถิ่นนั้น เทคโนโลยีท้องถิ่น จะมีลักษณะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่น และมีความสามารถ ในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปได้ ไม่หยุดอยู่กับที่
3.2.2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น(Local wisdom)
3.2.2.1. เป็นการสะสม องค์ความรู้ขึ้นมาจาก ประสบการณ์ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอดสืบ ต่อกันมา เป็นวัฒนธรรม ภูมิปัญญาเหล่านี้ เป็นที่มาของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ความเชื่อทางศาสนา วิธีการทำมาหากิน ตลอดจน ศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.2.3. ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น
3.2.3.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ (Low technology)
3.2.3.1.1. เทคโนโลยีที่มีอยู่แต่เดิม ตั้งแต่ยุคโบราณ ตลอดจนใช้แรงงาน ในท้องถิ่น มีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น
3.2.3.2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate technology)
3.2.3.2.1. เทคโนโลยีระดับกลาง เกิดจากการปรับปรุง พัฒนาเทคโนโลยีระดับพื้นบ้านขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ การดำรงชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น มีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ีมีกลไกซับซ้อนมากขึ้น เช่น การใช้เครื่องจักรทำงานแทนคน
3.2.3.3. เทคโนโลยีระดับสูง (High technology)
3.2.3.3.1. เป็นเทคโนโลยีที่ได้จาก ประสบการณ์อันยาวนาน มีความสลับซับซ้อน ผู้ใช้ต้องรู้จักดัดแปลงเทคโนโลยีเดิม ให้มีคุณภาพดีขึ้น จนก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยีระดับสูงนั้น อาจจำเป็นต้องอาศัย การศึกษา เรียนรู้ ในสถาบัน การศึกษาชั้นสูง มีการวิจัยทดลอง อย่างสม่ำเสมอ และมีการประดิษฐ์คิดค้น เครื่องมือ เครื่องจักรกลต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูง
4. รายชื่อผู้จัดทำ
4.1. นายภูมิวัชร์ หนูคงนุ้ย เลขที่ 14
4.2. นางสาวนันท์นภัส มรกต เลขที่ 24
4.3. นางสาวประภัสวรรณ จันทร์แสง เลขที่ 25
4.4. นางสาวนันทกาญร์ กาญจนสมบูรณ์ เลขที่ 36
5. 1. เทคโนโลยีคืออะไร
5.1. มุมมองของนักพัฒนา
5.1.1. เป็นสิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วย ในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
5.2. มุมมองของนักวิทยาศาสตร์
5.2.1. เป็นสิ่งที่มนุษย์นำความรู้จากธรรมชาติวิทยามาคิดค้น ดัดแปลงเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิต
5.3. มุมมองของนักอุตสาหกรรม
5.3.1. วิทยาการสมัยใหม่ทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้ด้านอุตสาหกรรมต่างๆ
5.4. เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติแก่มวลมนุษย์ เช่น การประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5.4.1. กล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
6. 3. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ๆ
6.1. ศึกษาศาสตร์
6.1.1. 1 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง 2 เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน 3 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน 4 เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง 5 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด 6 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
6.1.2. หมายถึง เป็นการศึกษาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู
6.2. วิทยาศาสตร์
6.2.1. เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์เองก็มีความสัมพันธ์กันมากเพราะเทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่อง ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้า ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก็เป็นความรู้ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มนุษย์ได้สังเกตเห็น
6.2.2. หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งหรือสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง
6.3. เกษตรศาสตร์
6.3.1. วิทยาการที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ในด้านการเกษตร ได้แก่ 1. ด้านการจัดการสาขาพืชและการจัดการสาขาสัตว์การจัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร 2. การจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ที่จำเป็นให้แก่เกษตรกร 3. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้เกษตรกร 4. การให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านการเกษตร 5. การศึกษา วิจัย ค้นคว้า และทดลอง 6. การวางแผนการดำเนินงาน และการจัดการ
6.3.2. หมายถึง วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม
6.4. โภชนศาสตร์
6.4.1. ความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษามีดังนี้ 1ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น 2 สามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะตอบสนองความสนใจได้ดี 3 ทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน 4 ช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง 5 ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด 6 การศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
6.4.2. หมายถึง เป็นวิชาวิทยาศาสตร์แขนง-หนึ่งที่กล่าวถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกาย
6.5. แพทย์ศาสตร์
6.5.1. เทคโนโลยีทางการแพทย์ได้เข้ามามีบทบาทที่สำคัญทำให้ประชาชนและผู้ป่วยสามารถ เข้าถึงข้อมูลทางการแพทย์สาธารณสุขรวมทั้งใช้บริการสาธารณสุขจากที่บ้านโดย ไม่ต้องเดินทางเพียงแค่คลิกคอมพิวเตอร์ที่บ้าน หรือแค่นอนพักผ่อนที่บ้าน คอมที่อยู่ รอบๆ ตัวคุณก็สามารถตรวจเช็คสุขภาพของคณและสามารถส่งข้อมูล สุขภาพไปยังแพทย์เจ้าของไข้หรือตรวจโรคผ่านระบบออนไลน์สิ่งเหล่านี้จะไม่ใช่เรื่อง ไกลตัวเราอีกต่อไปเมื่อบริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และแอพพลิคเคชั่นต่างๆหันมาพัฒนา เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อตอบสนองชีวิตประจำวันของมนุษย์มีการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแพทย์ทางไกลมาให้บริการผู้ป่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล
6.5.2. หมายถึง ศาสตร์ด้านการรักษาความผิดปกติทั้งทางร่างกายและจิตใจของมนุษย์
6.6. พลังงานและสิ่งแวดล้อม
6.6.1. เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) คือ การป้องกันมลพิษหรือ การผลิตที่สะอาด และการลดของเสีย ให้น้อยที่สุด ซึ่งทั้งหมดเป็นการป้องกันของเสียที่แหล่งกำเนิด แทนการควบคุมบำบัดและจัดของเสียแบบเดิม ที่เมื่อเปรียบเทียบแล้ว ค่าใช้จ่ายสูงกว่าการใช้เทคโนโลยีสะอาด จะเป็นวิธีการนำไปสู่มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14000 ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ในวงการค้าของโลกปัจจุบันด้วย ความหมายโดยสรุปของเทคโนโลยีสะอาด ก็คือ กลยุทธ์ในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ์บริการ และกระบวนการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อจัดการทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เปลี่ยนเป็นของเสีย น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด จึงเป็นทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อม และการลดค่าใช้จ่าย ในการผลิตไปพร้อมๆ กันด้วย
6.6.2. หมายถึง ศาสตร์ที่ช่วยส่งเสริมด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมและแก้ปัญหาการขาดแคลนพลังงาน
7. 2. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี
7.1. ตนเอง ครอบครัว ชุมชน
7.1.1. เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตเพราะวิวัฒนาการเหล่านั้นแทรกซึม อยู่ในทุกตารางการใช้ชีวิตของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่อการดำรงชีวิตเป็นอัน มาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี
7.2. เศรษฐกิจของประเทศ
7.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
7.3. สิ่งแวดล้อม
7.3.1. เทคโนโลยีช่วยให้มนุษย์มีความสามารถมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถในการเอาชนะธรรมชาติ เพื่อให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะเทคโนโลยี ช่วยให้มนุษย์สามารถทำงานได้มากขึ้น