โครงการ สวนผักคนเมือง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โครงการ สวนผักคนเมือง by Mind Map: โครงการ สวนผักคนเมือง

1. 2.เพื่อสนับสนุนการบริโภคผักปลอดสารพิษที่สามารถปลูกได้ด้วยตนเอง และส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี

1.1. 2.1 ผลิตสื่อความรู้และเผยแพร่

1.1.1. 2.1.1 ทำสื่อรูปแบบต่างๆ

1.1.1.1. 2.1.1.1 หนังสือ

1.1.1.2. 2.1.1.2 แผ่นพับ

1.1.1.3. 2.1.1.3 แผ่นซีดี

1.1.2. 2.2.2 ใช้ช่องทางการสื่อสาร

1.1.2.1. 2.2.2.1 เว็บไซต์

1.1.2.2. 2.2.2.2 เฟสบุ๊ค

1.1.2.3. 2.2.2.3 ไลน์

1.2. 2.2 จัดกิจกรรมรณรงค์

1.2.1. 2.2.1 จัดประกวดต่างๆ

1.2.1.1. 2.2.1.1 ประกวดสวนผักปลูกชีวิตนวัตกรรมสวนผัก

1.2.1.2. 2.2.1.2 ประกวดภาพถ่าย

1.2.1.3. 2.2.1.3 ประกวดเมนูอาหารปรุงจากผักที่ปลูกเอง

1.2.2. 2.2.2 จัดกิจกรรมทัวร์สวนผัก

1.2.2.1. 2.2.2.1 จัดนิทรรศการ

1.2.2.1.1. 2.2.2.1.1 ต้นแบบสวนผักคนเมือง

1.2.2.2. 2.2.2.2 จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำสวนผักคนเมือง ในพื้นที่จริง

1.2.2.2.1. 2.2.2.2.1 ด้านเทคนิคการปลูกผัก

1.2.2.2.2. 2.2.2.2.2 การเชื่อมโยงเรื่องการปลูกผักกับมิติต่างๆ

1.2.3. 2.3 จัดทำอุปกรณ์สำเร็จสำหรับคนที่เริ่มปลูกผัก

1.2.3.1. 2.3.1 ติดต่อสถานที่จำหน่าย ร้านขายอุปกรณ์การเกษตร ร้านขายต้นไม้ อย่างเป็นเครือข่าย

1.2.3.2. 2.3.2 จัดทำขายอุปกรณ์สำเร็จรูปขายในเพจ Facebook สวนผักคนเมือง

2. 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้เรื่องการปลูกผักในพื้นที่จำกัด

2.1. 1.1 จัดอบรมและศึกษาดูงานให้กับสมาชิก

2.1.1. 1.1.1. การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่เมืองกำลังเผชิญ

2.1.1.1. 1.1.1.1 ปัญหาสุขภาพจากการบริโภคของคนเมือง

2.1.1.2. 1.1.1.2 ปัญหาสารพิษในผักที่ขายตามตลาด

2.1.2. 1.1.2 เทคนิคความรู้เรื่องการปลูกผักในพื้นที่จำกัด

2.1.2.1. 1.1.2.1 ปลูกในกระถาง

2.1.2.2. 1.1.2.2 ปลูกแบบตาข่าย

2.1.2.3. 1.1.2.3 ปลูกในภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว

2.1.2.4. 1.1.2.4 ปลูกในเปลือกไข่

2.2. 1.2 สนับสนุนทุนโครงการขนาดเล็ก

2.2.1. 1.2.1 สร้างพื้นที่รูปธรรม และสร้างพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรในเมือง

2.2.1.1. 1.2.1.1 สวนผักกับความมั่นคงทางอาหาร

2.2.1.2. 1.2.1.2 สวนผักกับการบำบัดเยียวยา

2.2.1.3. 1.2.1.3 สวนผักกับการการสร้างพื้นที่ความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ของสังคม

2.2.1.4. 1.2.1.4 สวนผักกับกระบวน การเรียนรู้ของเด็ก

2.3. 1.3 สนับสนุนศูนย์อบรม และหน่วยอบรมเคลื่อนที่แก่ชุมชนที่สนใจ

2.3.1. 1.3.1 หน่วยอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี

2.3.1.1. 1.3.1.1 เรื่อง การทำเกษตรในเมือง

2.3.1.2. 1.3.1.2 เรื่อง การพึ่งตนเองด้านต่างๆ

2.3.2. 1.3.2 หน่วยอบรมให้ความรู้ภาคปฏิบัติ

2.3.2.1. 1.3.2.1 เรื่อง การทำเกษตรในเมือง

2.3.2.2. 1.3.2.2 เรื่อง การพึ่งตนเองด้านต่างๆ

3. 3.เพื่อใช้องค์ความรู้ในการสนับสนุน การขับเคลื่อนกิจกรรม นโยบาย และ มาตรการส่งเสริมการบริโภคผักที่มีความปลอดภัย สดและสะอาด

3.1. 3.1 การพัฒนาข้อมูลงานวิชาการ

3.1.1. 3.1.1 พัฒนาข้อมูล สู่ดิจิตอล

3.1.1.1. 3.1.1.1 สื่อโทรทัศน์

3.1.1.2. 3.1.1.2 จอ LED รอบเมือง

3.1.1.3. 3.1.1.3 Facebook

3.1.2. 3.1.2 การออกบูท

3.1.2.1. 3.1.2.1 งานเกษตร/งานประจำปี

3.1.3. 3.1.3 ผลิตสื่อที่แปลกใหม่จากเดิม

3.1.3.1. 3.1.3.2 กราฟฟิคดีไซน์

3.1.3.2. 3.1.3.2 ภาพเสมือนจริง

3.2. 3.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อผลักดันสู่การเปลี่ยนแปลง

3.2.1. 3.2.1 สร้างกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเป็นต้นแบบการเปลี่ยนแปลง

3.2.2. 3.2.2 สร้างแรงจูงใจ

3.2.2.1. 3.2.2.1 วิทยากร/ผู้เชี่ยวชาญ

3.2.2.2. 3.2.2.2 ผู้ที่เคยประสบความสำเร็จจากโครงการที่ผ่านมา

3.2.3. 3.2.3 จัดการอบรม สร้างองค์ความรู้ใหม่

3.2.3.1. 3.2.3.1 ความสะดวกการปลูกผัก

3.2.3.2. 3.2.3.2 การปลูกผักในพื้นที่จำกัด

3.2.4. 3.2.4 สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่าย

3.2.4.1. 3.2.4.1 ความน่าเชื่อถือ

3.2.4.2. 3.2.4.2 ความเป็นกันเอง

3.2.4.3. 3.2.4.3 ความเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน

3.2.4.4. 3.2.4.4 ความสามัคคี และเข้มแข็ง

3.3. 3.3 ส่งเสริมให้เกิดการประกอบการ/ผู้ประกอบการ

3.3.1. 3.3.1 จัดหาพื้นที่สำหรับสร้างตลาดสวนผักคนเมือง

3.3.2. 3.3.2 มีตลาดรองรับ

3.3.2.1. 3.3.2.1 มีการแลกเปลี่ยนสินค้า

3.3.2.2. 3.3.2.2 มีการฝากขาย (หน้าร้าน และออนไลน์)

3.3.3. 3.3.3 ประชาสัมพันธ์ตลาดสวนผักคนเมือง