การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ por Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. เกิดขึ้นเมื่อแบคทีเรียเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ โดยผ่านท่อทางเดินปัสสาวะ

2. Nephrotic syndrome

2.1. กลุ่มอาการ

2.1.1. โปรตีนในปัสสาวะสูง Hyperalbuminuria

2.1.2. . โปรตีนในเลือดตํ่า โดยเฉพาะอัลบูมิน Hypoproteinemia

2.1.3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม Pitting edema

2.1.4. ไขมันในเลือดสูง Hyperlipemia

2.2. สาเหตุ

2.2.1. . เกิดจากความผิดปกติที่ไต

2.2.1.1. Idiopathic NS

2.2.1.2. Congenital nephrosis

2.2.1.3. Acute post infection glomerulonephritis

2.2.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ

2.2.2.1. โรคติดเชื้อ

2.2.2.2. สารพิษ

2.2.2.3. ภูมิแพ้

2.2.2.4. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือดของไต

2.2.2.5. เนื้องอกชนิดร้าย

2.2.2.6. โรคอื่น ๆ

2.2.2.6.1. Collagen disease : SLE, Anaphylactoid purpura,

2.3. พยาธิสภาพ

2.3.1. มีความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้น

2.4. อาการ

2.4.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

2.4.2. อาการบวม

2.4.3. ปัสสาวะน้อยสีเข้ม

2.4.4. เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย

2.4.5. อาการติดเชื้อร่วม

2.5. การวินิจฉัย

2.5.1. การตรวจปัสสาวะ

2.5.1.1. พบโปรตีนในปัสสาวะ

2.5.1.2. พบไขมันในปัสสาวะ

2.5.2. การตรวจร่างกาย

2.5.2.1. บวมแบบกดบุ๋ม

2.5.3. การตรวจเลือด

2.5.3.1. Serum Protein ต่ำ

2.5.3.2. Serum Cholesterol สูง

2.5.4. หลักการรักษา

2.5.4.1. ให้ยาประเภทสเตียรอยด์

2.5.4.1.1. Prednisolone ทางปาก ระยะเวลาการให้ยาอาจนานตั้งแต่ 6 สัปดาห์เป็นต้นไป จนกว่าจะตรวจไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ

2.5.4.2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ

2.5.4.3. ลดอาการบวมหรือควบคุม

2.5.4.4. เพิ่มโแตสเซียม เพิ่มวิตามิน

2.5.5. การตรวพิเศษ

2.5.5.1. การตรวจชิ้นเนื้อของไต

2.6. ภาวะแทรกซ้อน

2.6.1. การติดเชื้อ

2.6.2. . ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

2.6.3. การอุดตันของหลอดเลือด

3. Urinary tract infection

3.1. สาเหตุ

3.1.1. เชื้อแบคทีเรีย

3.2. พยาธิสภาพ

3.2.1. โดยส่วนใหญ่โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มักเกิดจากเชื้อ E.coli และแบคทีเรียอื่นๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร

3.2.1.1. Urinary reflex poor perineal hygiene

3.3. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอนเช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต

3.4. อาการ

3.4.1. เด็กอายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

3.5. ข้อวินิจฉัย

3.5.1. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.5.1.1. การตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดขาว

3.5.1.2. การตรวจทางรังสีวิทยา

3.6. ภาวะแทรกซ้อน

3.6.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

3.6.2. ความดันโลหิตสูง

3.6.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

3.7. หลักการรักษา

3.7.1. . ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

3.7.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย

3.7.3. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

3.7.4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ

3.7.5. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

4. Acute glomerulonephritis

4.1. สาเหตุ

4.1.1. Pharyngitis

4.1.2. ติดเชื้อจากผิวหนัง

4.1.3. ติดเชื้ออื่นๆ

4.2. พยาธิสภาพ

4.2.1. มีการติดเชื้อในร่างกาย ร่างกายกระตุ้นให้สร้างAntigen-antibody complexทำ ให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลาย ผลที่เกิดตามมาคือ การกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ เกิดอาการคั่งของนํ้าและของเสีย

4.3. อาการ

4.3.1. การบวมแบบกดไม่บุ๋ม

4.3.2. ปัสสาวะสีเข้ม น้อย

4.3.3. กระสับกระส่าย ซีด อ่อนเพลีย

4.3.4. ความดันโลหิตสูง

4.4. การวินิจฉัย

4.4.1. ตรวจร่างกาย

4.4.2. ตรวจปัสสาวะ

4.4.2.1. พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว อัลบูมิน

4.4.3. ตรวจเลือด

4.4.4. การตรวจอื่น ๆ

4.4.4.1. การเพาะเชื้อจาก Pharynx พบ Streptococcus ในบางราย Renal biopsy,

4.4.5. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.5.1. Hypertensive encephalopathy

4.4.5.2. Acute cardiac decompensation

4.4.6. การรักษาแบบประคับประคอง

4.4.6.1. ลดความดันโลหิตและอาการบวม

4.4.6.2. ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อน

4.5. อาการ

4.5.1. ปัสสาวะลำบาก

4.5.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง

4.5.3. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก

4.5.4. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

4.5.5. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ

5. Phimosis in children

5.1. การรักษา

5.1.1. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.2. ข้อบ่งชี้

5.2.1. หนังหุ้มปลายไม่เปิด

5.2.2. มีการอักเสบปลายอวัยวะเพศ

5.2.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ

5.2.4. ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา เชื้อชาติ

5.3. ข้อห้ามในการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.3.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

5.3.2. ทารกที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

5.4. ภาวะแทรกซ้อน

5.4.1. มีเลือกออกบริเวณผ่าตัด

5.4.2. มีการอักเสบติดเชื้อ

5.5. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

6. นางสาว จินตนา เกิดรัตนศักดิ์ เลขที่ 16