การสื่อสาร

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
การสื่อสาร por Mind Map: การสื่อสาร

1. ความสำคัญ

1.1. การสื่อสารมีความสำคัญกับมนุษย์ในทุกด้าน ทั้งด้านการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น การสื่อสารที่ดีมีประสิทธิภาพจะทำให้มนุษย์เป็นบุคคลที่รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

2. ภาษา

2.1. ระยะเริ่มแรก "ภาษาใบ้" จากนั้นก็วิวัตนาการโดยการหาสัญลักษณ์แทนความหมายที่ต้องการสื่อ

2.2. " ภาษาเป็นสื่อหรือพาหนะที่จะให้เนื้อหาเกาะเกี่ยวจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารจนเกิดความเข้าใจ "

3. รูปแบบ

3.1. ๑.แบ่งรูปแบบของการสื่อสารตามจำนวนของผู้สื่อสาร

3.1.1. ๑.๑.การสื่อสารภายในบุคคล

3.1.1.1. การนึกคิด

3.1.1.2. การใคร่ครวญ

3.1.1.3. การจิตนาการ

3.1.2. ๑.๒.การสื่อสารระหว่างบุคคล

3.1.2.1. การพูดคุย

3.1.2.2. การถกเถียง

3.1.2.3. การพูดโทรศัพท์

3.1.3. ๑.๓.การสื่อสารในกลุ่มบุคคล

3.1.3.1. การแลกเปลี่ยนความคิด

3.1.3.2. การอบรมสัมมนา

3.1.3.3. การประชุม

3.1.4. ๑.๔.การสื่อสารมวลชน

3.1.4.1. สื่อสิ่งพิมพ์

3.1.4.2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์

3.2. ๒.แบ่งรูปแบบของการสื่อสารตามการตอบสนอง

3.2.1. ๒.๑.การสื่อสารทางเดียว

3.2.1.1. ผู้ส่งข้อมูลข่าวสารไปยังผู้รับสารจะไม่เห็นการตอบสนองทันที

3.2.1.1.1. วิทยุกระจายเสียง

3.2.1.1.2. โทรทัศน์

3.2.1.1.3. ภาพยนต์

3.2.2. ๒.๒.การสื่อสารแบบสองทาง

3.2.2.1. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันระหว่างผู้สื่อสารด้วยกัน

3.2.2.1.1. การประชุมสัมมนา

3.2.2.1.2. การพูดโทรศัพท์

3.3. ๓.แบ่งรูปแบบของสารสื่อสารตามวิธีการที่ใช้ในการส่งสารและรับสาร

3.3.1. ๓.๑.การส่งสาร

3.3.1.1. ๓.๑.๑.การพูด คือ การถ่ายทอดความรู้

3.3.1.1.1. ผู้พูด -> เสียงและกริยาท่าทาง -> ผู้ฟัง |_______ ปฎิกิริยาจากผู้ฟัง_______|

3.3.1.2. ๓.๑.๒.การเขียน คือ การถ่ายทอดลายลักษณ์อักษร

3.3.1.2.1. ผู้เขียน-> ตัวอักษรความหมาย->ผู้อ่าน |________ปฎิกิริยาจากผู้อ่าน_________|

3.3.2. ๓.๒.การรับสาร

3.3.2.1. ๓.๒.๑.การฟัง คือ ได้ยินเสียงและเข้าใจความหมาย

3.3.2.1.1. ผู้ฟัง -> ได้ยินเสียง -> คิด -> นำไปใช้

3.3.2.2. ๓.๒.๒.การอ่าน คือ การเข้าใจความหมายของเรื่องราวได้ตรงตามจุด

3.3.2.2.1. ผู้อ่าน -> ตัวอักษร -> เลือกความหมาย -> นำไปใช้

4. องค์ประกอบ

4.1. องค์ประกอบมี ๗ อย่าง

4.1.1. ๑.ผู้ส่งสาร

4.1.2. ๒.ตัวแปรสารของผู้ส่งสาร

4.1.3. ๓.สาร

4.1.4. ๔.ช่องทางในการสื่อสาร

4.1.5. ๕.ตัวแปรสารของผู้ส่งสาร

4.1.6. ๖.ผู้รับสาร

4.1.7. ๗.กาลเทศะและสภาพแวดล้อม

4.2. ผู้ส่งสาร -> สาร -> ผู้รับสาร

5. ความหมาย

5.1. การสื่อสาร ( communication ) คือ กระบวนการที่มนุษย์ถ่ายทอดความคิดเห็น ข้อมูล ความรู้สึก ผ่านทางสัญลักษณ์ต่างๆ จนเกิดเป็นความหมายเรื่องราว

6. ปัญหาและอุปสรรค์

6.1. ๑.ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร

6.1.1. ๑.๑.ผู้พูด

6.1.2. ๑.๒.ผู้เขียน

6.2. ๒.ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร

6.2.1. ๒.๑.ผู้ฟัง

6.2.2. ๒.๒.ผู้อ่าน

7. ลักษณะของภาษา

7.1. ๑.วัจนภาษา คือ คำพูด ตัวอักษรที่กำหนดความหมายรู้ร่วมกันในสังคม

7.1.1. ผู้ใช้จะต้องใช้ให้ถูกต้อง ชัดเจนเหมาะสม ทันสมัย

7.2. ๒.อวัจภาษา คือ ภาษาไม่ใช้ถ้อยคำ

7.2.1. ภาษาเงียบ

7.2.2. ภาษาใบ้

7.2.3. ๒.๑.กริยาท่าทาง สีหน้า สายตา

7.2.4. ๒.๒.สัญญาณต่างๆ

7.2.5. ๒.๓.การสัมผัส

7.2.6. ๒.๔.ลักษณะทางกายภาพ

7.2.7. ๒.๕.เสียง

7.2.8. ๒.๖.ช่องว่างหรือระยะห่าง

7.2.9. ๒.๗.เวลา

7.2.10. ๒.๘.กลิ่น-รส

7.2.11. ๒.๙.ภาพ

7.2.12. ๒.๑๐.สี

7.2.13. ๒.๑๑.ลักษณะของตัวอักษร

8. จุดประสงค์

8.1. ๑.ติดต่อสื่อสารเพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร หรือความรู้

8.1.1. จุดประสงค์คือ การให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจมากเพิ่มขึ้น

8.1.1.1. เขียนบทความ

8.1.1.2. การเขียนสารคดี

8.1.1.3. การสัมมนาทางวิชาการ

8.2. ๒.การติดต่อสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ

8.2.1. จุดประสงค์คือ มุ่งสร้างเจตคติ ความน่าเชื่อถือ สร้างศรัทธาแก่ผู้รับสาร

8.2.1.1. การเขียนโฆษนาสินค้าและบริการ

8.2.1.2. การเขียนเชิงประชาสัมพันธ์

8.3. ๓.การติดต่อสื่อสารเพื่อจรรโลงใจ

8.3.1. จุดประสงค์คือ ทำให้ผู้รับสารจะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มุ่งสร้างศรัทธาให้แก่สถาบัน

8.3.1.1. สร้างศรัทธาในศาสนา

8.3.1.2. การพูดยกย่องสดุดี

8.4. ๔.การสื่อสารเพื่อความบรรเทิง

8.4.1. จุดประสงค์คือ ทำให้ผู้รับสารผ่อนคลายความตึงเครียด เกิดความสุขสนุกสนาน

8.4.1.1. การชมละคร

8.4.1.2. ดูภาพยนต์

8.4.1.3. ฟังเพลง